หน้าแรก หนังสือทางกฎหมาย
วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ ๗ เล่มที่ ๑๙ เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ๒๕๔๘
10 กรกฎาคม 2548 15:21 น.
 
 
ผู้แต่ง :  
เจ้าของ หรือผู้พิมพ์ :   สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ปีที่พิมพ์ :   พ.ศ. ๒๕๔๘
จำนวนหน้า :  
ราคา :   ติดต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ โทรศัพท์ 0-2623-9600
 



วารสารศาลรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้นำเสนอบทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ โดยได้มีนำเสนอบทความที่น่าสนใจของ ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน เรื่อง “รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ความชอบธรรม ธรรมอำนาจ และความยุติธรรม” และยังได้นำเสนอบทความอีกหลายบทความที่เกี่ยวข้องกับศาลรัฐธรรมนูญ จากตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สองท่านคือ บทความเรื่อง “บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในมิติใหม่” โดยท่านพลตำรวจเอกสุวรรณ สุวรรณเวโช และบทความเรื่อง “บรรดทัดฐานใหม่ทางกฎหมายจากคำวินิฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ” โดยท่านนพดล เฮงเจริญ ซึ่งเป็นการนำเสนอแนวทางใหม่ในการวิเคราะห์คำวินิฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นการวางหลักบรรทัดฐานทางกฎหมายของคดีรัฐธรรมนูญ
       นอกจากนี้ยังมีบทความน่าสนใจอีกสองบทความคือ บทความเรื่อง “ศาลรัฐธรรมนูญกับความหลายหลายของมาตราการส่งมอบบริการด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน” โดย ดร.เชาวนะ ไตรมาศ และ บทความเรื่อง “ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับการตรวจสอบปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๙๘” โดย คุณพิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์ ซึ่งทั้งสองบทความได้นำเสนอแนวคิดตลอดจนถึงมาตราการต่างๆเพื่อปกป้องคุ้มครองและเยียวยาในเรื่องสิทธิของประชาชน


 
 
กฎหมายปกครอง
กฎหมายมหาชน : ความเป็นมา ทฤษฎี และหลักการที่สำคัญ
กฎหมายการปกครองท้องถิ่น
กฎหมายปกครอง
สัญญาทางปกครอง
   
 
 
 
ผลงานตำรากฎหมายของศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
กฎหมายปกครอง
สัญญาทางปกครอง
กฎหมายมหาชน : ความเป็นมา ทฤษฎี และหลักการที่สำคัญ
รวมกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำบริการสาธารณะระดับชาติ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ: แนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ
กฎหมายมหาชน : แนวประยุกต์
หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและความเป็นมนุษย์
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง
แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544