หน้าแรก หนังสือทางกฎหมาย
รายงานการวิจัย เรื่อง การยกสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เพื่อใช้สิทธิทางศาล
รองศาสตราจารย์ ดร.บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ
2 พฤษภาคม 2548 08:34 น.
 
 
ผู้แต่ง :   รองศาสตราจารย์ ดร.บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ
เจ้าของ หรือผู้พิมพ์ :   สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ปีที่พิมพ์ :   พ.ศ.2548
จำนวนหน้า :   235 หน้า
ราคา :   ติดต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ โทรศัพท์ 0-2623-9600
 

รายงานการวิจัยเล่มนี้เป็นรายงานการวิจัยที่นำเสนอต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อปี พ.ศ.2547 โดยมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการยกสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 28 วรรคสองแห่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการวิจัยเปรียบเทียบประเด็นดังกล่าวของไทยกับระบบของเยอรมันและอีกหลายประเทศที่ใช้ระบบของเยอรมันเป็นต้นแบบที่เปิดโอกาสใช้ประชาชสามารถร้องทุกข์ต่อศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์ได้ในกรณีที่มีการละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนโดยฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร หรือตุลาการ โดยศาลรัฐธรรมนูญจะพิจารณาเฉพาะในประเด็นที่ว่าสิทธิของประชาชนถูกละเมิดหรือไม่ ซึ่งกรณีดังกล่าวนี้การร้องทุกข์โดยตรงของประชาชนในประเทศไทยต่อศาลรัฐธรรมนูญยังไม่สามารถทำได้ ผู้วิจัยจึงได้เสนอทางออกของเรื่องดังกล่าวไว้อย่างน่าสนใจเพื่อให้ประชาชนสามารถ “ไปหา” ศาลรัฐธรรมนูญได้โดยตรง ฟังดูแล้วเป็นเรื่องที่น่าสนใจนะครับ หากสนใจรายงานการวิจัยเล่มนี้ลองติดต่อสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญว่าทำอย่างไรจึงจะได้อ่านรายงายวิจัยฉบับเต็มครับ


 
 
กฎหมายปกครอง
กฎหมายมหาชน : ความเป็นมา ทฤษฎี และหลักการที่สำคัญ
กฎหมายการปกครองท้องถิ่น
กฎหมายปกครอง
สัญญาทางปกครอง
   
 
 
 
ผลงานตำรากฎหมายของศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
กฎหมายปกครอง
สัญญาทางปกครอง
กฎหมายมหาชน : ความเป็นมา ทฤษฎี และหลักการที่สำคัญ
รวมกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำบริการสาธารณะระดับชาติ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ: แนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ
กฎหมายมหาชน : แนวประยุกต์
หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและความเป็นมนุษย์
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง
แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544