หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 66 จากทั้งหมด 167 หน้า
61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70
 
   
 
 
กรณีศึกษา - case study คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๕/๒๕๕๓ (กรณียุบพรรคประชาธิปัตย์) ตอนที่ 3 (หน้าที่ 1)
25 มีนาคม 2554
 
 
ตอนที่หนึ่ง จะเป็นการวิเคราะห์ “การให้เหตุผลในการวินิจฉัยชี้ขาด”ของตุลาการ (เพื่อตรวจดู “พฤติกรรมของตุลาการ”) ตอนที่สอง เป็นการวิเคราะห์ “ข้อบกพร่อง”ของบทกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมของศาลรัฐธรรมนูญ ตอนที่สาม ว่าด้วย “ปัญหา” การทำงานของ “ประธานกรรมการการเลือกตั้ง” และ “คณะกรรมการการเลือกตั้ง”
สื่อต้องทำหน้าที่
25 มีนาคม 2554
 
 
ใครจะว่าอย่างไรก็แล้วแต่ จากการติดตามการอภิปรายไม่ไว้วางใจในระหว่างวันที่ 15-19 มีนาคมที่ผ่านมา ผมเห็นว่าดีขึ้นและมีประโยชน์ขึ้น ถึงแม้ว่าจะมี ส.ส.บางคนแสดงธาตุแท้หรือสันดานเดิมออกมาด่าคนอื่นว่า “พ่อมึงเหรอ” “ไอ้นั่น” ฯลฯ และถึงแม้ว่ากองเชียร์ของแต่ละฝ่ายต่างก็ไม่เปิดใจกว้างรับข้อมูลของอีกฝ่ายก็ตาม และที่สำคัญผมไม่เชื่อโพลต่างๆที่ออกมาว่าใครแพ้ ใครชนะ หรือการอภิปรายครั้งนี้ก็เหมือนๆเดิม หรือไม่มีข้อมูลใหม่ เพราะผมไม่เชื่อกลุ่มตัวอย่างที่สำนักโพลทั้งหลายสำรวจมานั้นจะฟังการอภิปรายกันทุกคนและเกือบตลอดเวลาการอภิปราย เผลอๆกลุ่มตัวอย่างก็ฟังเอาจากสื่อต่างๆหรือจากการพูดคุยกันเท่านั้นเอง
ผู้มีอำนาจกล่าวหาบุคคลตามมาตรา 66 แห่ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 เฉพาะกรณีเรื่องกล่าวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. รับไว้เป็นคดีหมายเลขดำที่ 50441790
25 มีนาคม 2554
 
 
สืบเนื่องจากกรณีสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีคำสั่งลงโทษทางวินัยกับผู้บริหารมหาวิทยาลัยรามคำแหง คือ รศ.รังสรรค์ แสงสุข รศ.คิมไชยแสนสุข และ รศ.เฉลิมพล ศรีหงษ์ ด้วยเหตุผลที่ว่า เป็นเพราะคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำนักปราบปรามทุจริตภาคการเมือง 2 มีมติการประชุมครั้งที่ 192-27/2553 วาระที่ 3.3วันที่ 27 เมษายน 2553 เรื่อง สำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริง เรื่องกล่าวหา รศ.รังสรรค์ แสงสุข รศ.คิมไชยแสนสุข และ รศ.เฉลิมพล ศรีหงษ์ ร่วมกันออกคำสั่งขยายระยะเวลาราชการให้ รศ.รังสรรค์ แสงสุข และรศ.รำไพ สิริมนกุล รองอธิการบดี โดยมิชอบ ตามเรื่องกล่าวหาเลขดำที่ 50441790
กรณีศึกษา - case study คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๕/๒๕๕๓ (กรณียุบพรรคประชาธิปัตย์) ตอนที่ 3 (หน้าที่ 2)
25 มีนาคม 2554
 
 
การต่ออายุราชการของข้าราชการในมหาวิทยาลัย
13 มีนาคม 2554
 
 
ในฐานะมนุษย์ที่ได้รับประโยชน์ในหน้าที่ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ย่อมต้องสนใจต่อข่าวในหนังสือพิมพ์มติชนฉบับวันพุธที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ “กรณีสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาดำเนินการทางวินัยกับผู้บริหารมหาวิทยาลัย” เมื่อเกิดข่าวอย่างต่อเนื่องรู้ถึงความยากลำบากของผู้บังคับบัญชาระดับสูงสุดตำแหน่งเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วยความพยายามแสดงการให้เกียรติต่อข้าราชการพลเรือนสังกัดมหาวิทยาลัยอย่างมาก
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544