หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 65 จากทั้งหมด 167 หน้า
61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70
 
   
 
 
มองญี่ปุ่น มองไทย
24 เมษายน 2554
 
 
ในฐานะที่เคยศึกษาหาความรู้และใช้ชีวิตอยู่ในญี่ปุ่นระยะหนึ่ง ผมมองการกู้ภัยของญี่ปุ่นภายหลังจากการประสบภัยแผ่นดินไหวและสึนามิเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับการกู้ภัยจากน้ำท่วมภาคใต้ของไทยแล้วให้ห่อเหี่ยวใจเป็นยิ่งนัก แน่นอนว่านอกจากความเป็นเลือดบูชิโดที่ทรหดอดทน และมีความเป็นระเบียบวินัยแล้ว อย่างอื่นญี่ปุ่นแทบจะไม่มีอะไรเหนือกว่าไทยเลย นอกจากการมีการปกครองท้องถิ่นที่เข้มแข็งโดยไม่มีราชการส่วนภูมิภาค อีกทั้งการเปิดประเทศของญี่ปุ่นยังเปิดทีหลังไทยเสียอีก รถไฟก็เข้ามาพร้อมๆกัน มิหนำซ้ำญี่ปุ่นยังตกเป็นประเทศแพ้สงครามโลกโดนระเบิดปรมาณูถล่มที่ฮิโรชิมาและนางาซากิเสียหายอย่างยับเยิน
กรณีศึกษา - case study คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๕/๒๕๕๓ (กรณียุบพรรคประชาธิปัตย์) ตอนที่ 4
22 เมษายน 2554
 
 
การวิเคราะห์การให้เหตุผล ของตุลาการ ๑ ท่าน ที่วินิจฉัยให้ยกคำร้องของนายทะเบียนพรรคการเมือง เพราะ “เหตุ” ที่ นายทะเบียนพรรคการเมืองไม่ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญภายในกำหนดเวลา ๑๕ วัน ตามที่กฎหมายกำหนด ( มาตรา ๙๓ วรรคสอง พรบ.ฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ )
Faire vraiment place au sein de l’ONG humanitaire aux salariés recrutés localement
22 เมษายน 2554
 
 
Les travailleurs humanitaires s’exposent aux risques inhérents aux terrains en conflit, sous tension ou insécurisés. En principe, ils bénéficient de la protection juridique…
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ฉบับ กับผู้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง
12 เมษายน 2554
 
 
สืบเนื่องจากกรณีสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีคำสั่งลงโทษทางวินัยกับผู้บริหารมหาวิทยาลัยรามคำแหง คือ รศ.รังสรรค์ แสงสุข รศ.คิมไชยแสนสุข และ รศ.เฉลิมพล ศรีหงษ์ ด้วยเหตุผลที่ว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. สำนักปราบปรามทุจริตภาคการเมือง 2 มีมติการประชุมครั้งที่ 192-27/2553 วาระที่ 3.3วันที่ 27 เมษายน 2553 เรื่อง สำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริง เรื่องกล่าวหา รศ.รังสรรค์ แสงสุข รศ.คิมไชยแสนสุข และ รศ.เฉลิมพล ศรีหงษ์ ร่วมกันออกคำสั่งขยายระยะเวลาราชการให้ รศ.รังสรรค์ แสงสุข และรศ.รำไพ สิริมนกุล รองอธิการบดี โดยมิชอบ ตามเรื่องกล่าวหาหมายเลขดำที่ 50441790
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันความรุนแรงระหว่างผู้ชมกีฬาฟุตบอลในประเทศอังกฤษ
12 เมษายน 2554
 
 
เกมกีฬาฟุตบอลยุคใหม่ (The modern professional football games) ได้ถูกวิวัฒนาการในประเทศอังกฤษมาเป็นเวลานาน โดยเห็นได้จากการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลอังกฤษ (The Football Association-FA) ในปี ค.ศ. 1869 ซึ่งสมาคมดังกล่าวมีหน้าที่ในการกำหนดและบัญญัติกฎและข้อบังคับกีฬาฟุตบอลในการแข่งขั้นระดับต่างๆ เพื่อให้เกิดมาตรฐานในเกมส์กีฬาฟุตบอล (The football rules and league management)
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544