หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 67 จากทั้งหมด 167 หน้า
61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70
 
   
 
 
การใช้อำนาจตุลาการอันเป็นอิสระกับการกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม
13 มีนาคม 2554
 
 
จากกรณีที่มีผู้ร้องเรียนต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ ป.ป.ช.ว่าหลังจากที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวมิให้นำมติคณะรัฐมนตรีที่สนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของเขมร ซึ่ง ครม.และกระทรวงการต่างประเทศได้อุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวต่อศาลปกครองสูงสุด ซึ่ง นายอักขราทร จุฬารัตน ในฐานะประธานศาลปกครองสูงสุดในขณะนั้นได้สั่งให้จ่ายสำนวนคดีดังกล่าวให้แก่ องค์คณะที่ ๒
การควบคุมตรวจสอบฝ่ายปกครองโดยศาลปกครอง
13 มีนาคม 2554
 
 
มนุษย์ได้เรียนรู้มาโดยตลอดว่า “อำนาจทำให้ผู้ถืออำนาจนั้นเลวลง อำนาจเด็ดขาดยิ่งทำให้ผู้ถืออำนาจนั้นเลวลงอย่างถึงที่สุด” (Power corrupts; absolute power corrupts absolutely) เพราะ “คนเราทุกคนเมื่อมีอำนาจแล้วมักจะมัวเมาในอำนาจและมักจะใช้อำนาจอย่างสุดโต่งเสมอ” เมื่อใดที่ผู้ปกครองมีอำนาจมากก็มักจะใช้อำนาจอย่างสุดโต่ง ยิ่งถ้าอำนาจนั้นเป็นอำนาจเด็ดขาด ประชาชนผู้อยู่ภายใต้การปกครองก็มักจะถูกผู้ปกครองกดขี่ ข่มเหง และเอารัดเอาเปรียบเสมอ ผู้ปกครองที่ใช้อำนาจในลักษณะนี้อาจเรียกว่า “ทรราช” (tyrant)
ความเป็นสื่อสังคม (Social Media) กับมาตรฐานและจรรยาบรรณ
13 มีนาคม 2554
 
 
เป็นที่ทราบกันดีว่าสื่อในโลกออนไลน์ปัจจุบัน ได้เข้ามามีบทบาทต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ในหลายมิติ การกระทำต่างๆในกิจวัตรประจำวันของบางคนอาจจำเป็นต้องใช้สื่อเหล่านี้เข้ามาช่วยในทุกขั้นตอนของชีวิต ยิ่งในขณะนี้ที่สื่อสังคม (Social Media) ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารระหว่างผู้ใช้ด้วยกัน เพราะลักษณะเด่นและเสน่ห์ของมันที่ทำให้การมีส่วนร่วมง่ายเพียงการพิมพ์หรือคลิก ผู้รับสารก็จะสามารถกลายเป็นผู้ส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน เว็บไซต์จำพวก Facebook และ Twitter จึงเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการนำเสนอข้อมูลของผู้ใช้ที่มีเนื้อหาความยาวไม่มากนัก
ส.ว.สรรหา ต้องลาออกก่อนสมัครเข้ารับการสรรหาในครั้งใหม่หรือไม่?
27 กุมภาพันธ์ 2554
 
 
ส.ว.สรรหาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญ 50 จะหมดวาระในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ซึ่งช่วงที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ปรากฏข่าวคราวบนหน้าสื่ออยู่เนืองๆว่า บรรดา ส.ว. สรรหาจะพากันลาออกก่อนหมดวาระเป็นจำนวนมาก เพื่อจะกลับเข้าสู่กระบวนการสรรหาใหม่อีกครั้ง (อย่างไรก็ดี วันที่ 17 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา เหล่า ส.ว. สรรหาได้ชิงลาออกทั้งสิ้น 67 ท่าน คงเหลือเพียง 7 ท่านเท่านั้นที่ยังคงทำงานอยู่ต่อไป) โดยมีข้ออ้างที่สำคัญว่า “เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางข้อกฎหมายว่าด้วยเรื่องคุณสมบัติของผู้ที่จะถูกเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นส.ว.”
กรณีศึกษา - case study คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๕/๒๕๕๓ (กรณียุบพรรคประชาธิปัตย์) ตอนที่ 2 (หน้าที่ 2)
27 กุมภาพันธ์ 2554
 
 
(๒) ช่วงที่สองของคำวินิจฉัย ผู้ถูกร้อง (พรรคประชาธิปัตย์) ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ “วินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้น” และการคัดค้านของผู้ร้อง(นายทะเบียนพรรคการเมือง) หน้า ๑๐ - ๑๔ รวม ๔ หน้า ◊◊ ก่อนการไต่สวน ผู้ถูกร้อง (พรรคประชาธิปัตย์ ได้ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ “วินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้น” [หมายเหตุ ศาลไม่ได้ระบุว่า คำร้องของผู้ถูกร้อง ที่ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ “วินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้น” ได้กระทำโดย “ เอกสารหมายใด” และ “ลงวันที่ใด” ] ;
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544