[1] http://computer.ru.ac.th/news2008/news/detail.php?id=1125
[2] มาตรา ๔ อันกฎหมายนั้น ท่านว่าต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบทบัญญัติใดๆแห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้นๆ เมื่อใดไม่มีบทกฎหมายที่จะยกปรับคดีได้ ท่านให้วินิจฉัยคดีนั้น ตามคลองจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าและไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ท่านให้วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง และถ้าบทกฎหมายเช่นนี้ก็ไม่มีด้วยไซร้ ท่านให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป
[3] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๖๘ ตอนที่ ๒๔ ฉบับพิเศษ หน้า ๑ - ๓๔ วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๔๙๔
[4] มาตรา ๑๙ ข้าราชการซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์แล้ว เป็นอันพ้นจากราชการเมื่อสิ้นปีที่อายุหกสิบปีบริบูรณ์นั้น เว้นแต่ในกรณีพิเศษซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการอย่างยิ่ง จะต่อเวลาราชการให้รับราชการต่อไป อีกคราวละหนึ่งปีจนถึงอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ก็ได้ ความในมาตรานี้มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง
[5] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๗๘ ตอนที่ ๙๖ ฉบับพิเศษ หน้า ๑ - ๔ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๐๔
[6] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๙๒ ตอนที่ ๓๕ ฉบับพิเศษ หน้า ๑-๒ เมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๘
[7] มาตรา ๑๙ ข้าราชการซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์แล้ว เป็นอันพ้นจากราชการเมื่อสิ้นปีงบประมาณที่อายุครบหกสิบปีบริบูรณ์นั้น เว้นแต่ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ สมุหราชองครักษ์และรองสมุหราชองครักษ์ ซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการในพระองค์ จะต่อเวลาราชการให้รับราชการต่อไปอีกคราวละหนึ่งปีจนถึงอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ก็ได้ ความในมาตรานี้มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง
[8] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๐๔ ตอนที่ ๑๑๙ ฉบับพิเศษ หน้า ๑-๓ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๓๐
[9] มาตรา ๑๙ ข้าราชการซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์แล้ว เป็นอันพ้นจากราชการเมื่อสิ้นปีงบประมาณที่อายุครบหกสิบปีบริบูรณ์
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ สมุหราชองครักษ์ รองสมุหราชองครักษ์ และข้าราชการการเมือง
การพ้นจากราชการของข้าราชการพลเรือนในพระองค์ สมุหราชองครักษ์ และรองสมุหราชองครักษ์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
[10] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๖ ตอนที่ ๗๕ ก หน้า ๖-๘ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๒
[11] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๑๑ ก หน้าที่ ๕-๗ วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
[12] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๙๙ ก หน้า วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕
[13] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๗๐ ก หน้า ๓๓-๕๕ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
[14] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๗๗ ก หน้า ๒๙ - ๓๑ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๗
[15] มาตรา ๑๐๘ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดเมื่ออายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ในสิ้นปีงบประมาณและทางราชการมีความจำเป็นที่จะให้รับราชการต่อไปเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในทางวิชาการหรือหน้าที่ที่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว ในตำแหน่งตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะให้รับราชการต่อไปอีกไม่เกินสิบปีก็ได้ตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.
[16] ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๓๓ ก หน้า ๑-๕ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[17] มาตรา ๑๙ ข้าราชการซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ เป็นอันพ้นจากราชการเมื่อสิ้นปีงบประมาณที่ผู้นั้นมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการในพระองค์ สมุหราชองครักษ์ รองสมุหราชองครักษ์ ข้าราชการการเมือง และข้าราชการซึ่งมีกฎหมายบัญญัติเรื่องการพ้นจากราชการไว้เป็นอย่างอื่น
การพ้นจากราชการของข้าราชการพลเรือนในพระองค์ สมุหราชองครักษ์และรองสมุหราชองครักษ์ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
[18] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๗๐ ก หน้าที่ ๓๓ - ๕๕
[19] มาตรา ๑๙ (วรรคแรก) ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาซึ่งดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ซึ่งสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ เมื่ออายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และจะพ้นจากราชการในสิ้นปีงบประมาณที่ผู้นั้นมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ หากสถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่การสอนหรือวิจัย และมีความประสงค์ที่จะให้ผู้นั้นรับราชการอยู่ต่อไป สถาบันอุดมศึกษาอาจพิจารณาให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปจนถึงสิ้นปีงบประมาณที่ผู้นั้นมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ได้
[20] มาตรา ๗๒ วรรคแรก บัญญัติว่า ภายในระยะเวลาสิบปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มิให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับและให้ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีตำแหน่งตั้งแต่รองศาสตราจารย์ขึ้นไป เมื่ออายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ในสิ้นปีงบประมาณ อาจให้รับราชการเพื่อทำหน้าที่สอนหรือวิจัยต่อไปได้จนสิ้นปีงบประมาณที่ผู้นั้นมีอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กำหนด
[21] หนังสือด่วนมาก ที่ศธ ๐๕๐๙.๕/ว๑ ลงวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ เรื่อง การขยายเวลาราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
[22] หนังสือด่วนที่สุด ที่ศธ.๐๕๒๒.๐๑/๓๙๒๒ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๘ เรื่องการดำรงตำแหน่งทางบริหารของผู้ได้รับการต่อเวลาราชการ
[23] หนังสือด่วนที่สุด ที่นร ๐๙๐๑/๑๐๑๑ ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๘ พร้อมบันทึกเรื่องเสร็จที่ ๕๒๒/๒๕๔๘
[24] หนังสือด่วนที่สุด ที่ศธ.๐๕๐๙.๕/ว๑ ลงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๙ เรื่องปรับปรุงหลักเกณฑ์การขยายเวลาราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
[25] หนังสือด่วนที่สุด ที่ศธ.๐๕๒๐/๐๖๓๘๓ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ เรื่องการต่อเวลาราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
[26] หนังสือด่วนที่สุด ที่นร ๐๙๐๑/๐๒๓๐ ลงวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๙ พร้อมบันทึกเรื่องเสร็จที่ ๑๑๙/๒๕๔๙
[27] หนังสือด่วนที่สุด ที่ศธ.๐๕๐๙.๖(๒.๕)/๔๐๔๖ ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๙
[28] ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๒๔ ตอนพิเศษ๑๕ ง หน้า ๒๘ - ๓๑ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
[29] ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๒๘ ก หน้า ๓๖ - ๔๑ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[30] เดลินิวส์ ฉบับที่๒๒๑๑๓ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓