หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 17 จากทั้งหมด 167 หน้า
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20
 
   
 
 
อำนาจในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินของนายกรัฐมนตรีรักษาการ Power of Caretaker Prime Minister to Declare State of Emergency
09 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
ในบทความนี้จะประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังมีโครงสร้างต่อไปนี้ 1. บทนิยามของคำว่า “คณะรัฐมนตรีรักษาการ” และ “นายกรัฐมนตรีรักษาการ” 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน 3.บทวิเคราะห์ว่าด้วยสถานะทางกฎหมายของคณะรัฐมนตรีรักษาการและนายกรัฐมนตรีรักษาการ 4.บทวิเคราะห์ “อำนาจในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินของนายกรัฐมนตรีรักษาการ” และบทส่งท้าย
ข้อคิดบางประการ : กฎหมายการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
26 มกราคม 2557
 
 
ภายหลังจากที่รัฐบาลประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในช่วงเย็นของวันที่ 21 มกราคม 2557 ที่ผ่านมา ผู้เขียนในฐานะที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองและกฎหมายฉบับนี้ในระดับหนึ่ง มิอาจนิ่งเฉยต่อการให้ความรู้และความเห็นได้ จึงขอนำเสนอสิ่งที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจใคร่รู้ดังนี้
ชัยชนะของประชาชน
26 มกราคม 2557
 
 
เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนักสำหรับผู้ที่จะคาดเดาสถานการณ์การเมืองไทยที่ได้ทำผู้คนในประเทศไทยถูกแบ่งออกเป็น 2 ขั้ว คือ ฝ่ายเอา กปปส.กับไม่เอา กปปส.จากเดิมที่ในช่วงแรกๆของการก่อตั้งขึ้นของ กปปส.มีอยู่ 3 ขั้วคือ กปปส. ,ฝ่ายรัฐบาล และ ฝ่ายกลางๆที่ไม่ได้เชียร์ทั้ง กปปส.และฝ่ายรัฐบาล แต่ตอนนี้ฝ่ายที่ 3 ถูก กปปส.ผลักให้ไปเป็นฝ่ายตรงข้ามกับ กปปส.เรียบร้อยแล้วว่าการเมืองไทยจะมีทิศทางเดินต่อไปเช่นไร
“ร่างพระราชบัญญัติการบริหารจังหวัดปกครองตนเอง พ.ศ. ....”คำตอบหนึ่งของการ “ปฏิรูปประเทศ”
12 มกราคม 2557
 
 
เมื่อได้ยินคำว่า “จังหวัดปกครองตนเอง” หลายคนคงตกอกตกใจว่า “นี่คิดจะแบ่งแยกประเทศหรือกระไรนั่น?” แต่หากกล่าวคำว่า “จังหวัดจัดการตนเอง” คงมีคนจำนวนไม่น้อยที่อาจจะพอเคยได้ยินได้ฟังถ้อยคำดังกล่าวอยู่บ้างตามสื่อสาธารณะ หรือตามข่าวสารการรณรงค์ขับเคลื่อนของภาคประชาสังคม เช่น การรณรงค์เข้าชื่อเสนอกฎหมายร่างพระราชบัญญัติเชียงใหม่มหานคร พ.ศ. ....
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550: มุมมองในมิติกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ
12 มกราคม 2557
 
 
กิจการพลังงานเป็นกิจการด้านสาธารณูปโภคที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก กิจการดังกล่าวถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานในทางเศรษฐกิจที่จะทำให้เกิดความสะดวกสบายแก่ผู้อยู่อาศัยในสังคม การประกอบกิจการด้านพลังงานนั้นมีประวัติความเป็นมายาวนานและได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามพลวัตของสังคมในแต่ละยุคสมัย กิจการพลังงานที่สำคัญคือ กิจการไฟฟ้า
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544