หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 15 จากทั้งหมด 167 หน้า
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20
 
   
 
 
“ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” หรือ “เลือกตั้งก่อนปฏิรูป” (?) (เราจะปฏิรูปประเทศกันอย่างไร)
09 มีนาคม 2557
 
 
การลุกขึ้นสู้ของมวลมหาประชาชนชาวกวางจู
09 มีนาคม 2557
 
 
เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาผมได้มีโอกาสเป็นแขกรับเชิญของ Professor Na Khan-chae จาก Chonnam National University ไปแลกเปลี่ยนประสบการณ์การลุกขึ้นต่อสู้ของประชาชนชาวกวางจู เกาหลีใต้ กับการลุกขึ้นต่อสู้ของประชาชนชาวไทย ซึ่งการลุกขึ้นต่อสู้ของชาวกวางจูในครั้งอดีตเมื่อเดือนพฤษภาคมปี 1980 นั้น น่าสนใจมาก
ข้อความคิดว่าด้วยเงื่อนไขในการฟ้องคดีปกครอง
09 มีนาคม 2557
 
 
คดีที่ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองมีประเด็นที่ศาลจะต้องพิจารณาอย่างน้อย ๓ ประเด็นตามลำดับ ดังนี้ ประเด็นแรก ศาลจะต้องพิจารณาว่าคำฟ้องอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง (la compétence) หรือไม่ ถ้าคำฟ้องอยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองจึงจะพิจารณาประเด็นต่อไปว่า คำฟ้องและผู้ฟ้องคดีได้ปฏิบัติถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่เป็นเงื่อนไขในการฟ้องคดีปกครอง (les conditions de recevabilité) อย่างครบถ้วนที่ศาลจะรับคำฟ้องไว้พิจารณาหรือไม่
ผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญต่อการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในคดีอาญา (หน้าที่ 1) (Preclusive Effect of the Constitutional Court Decision Ruling on a Criminal Proceeding)
23 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 216 วรรคห้า ได้กำหนดให้คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันองค์กรภายใต้รัฐธรรมนูญทุกองค์กรรวมถึงศาลยุติธรรมด้วย อย่างไรก็ตาม มีปัญหาเกิดขึ้นว่าความผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญดังกล่าวหมายความรวมถึงความผูกพันในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงของศาลยุติธรรมด้วยหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าหากเป็นคดีอาญา ศาลยุติธรรมที่พิจารณาคดีอาญาจำเป็นจะต้องวินิจฉัยข้อเท็จจริงเป็นยุติตามที่ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยเอาไว้แล้วหรือไม่
ผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญต่อการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในคดีอาญา (หน้า 2) (Preclusive Effect of the Constitutional Court Decision Ruling on a Criminal Proceeding)
23 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
ในหัวข้อก่อนหน้าเราได้ทราบแล้วว่า ถึงแม้ในสากลประเทศจะมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันว่าไม่ควรมีการนำเอาคำพิพากษาของศาลคดีอื่นมาใช้เป็นบทตัดสำนวนในคดีอาญา แต่ศาลฎีกาของประเทศไทยได้มีการสร้างบรรทัดฐานยอมรับเอาคำพิพากษาคดีอื่นมาใช้เป็นบทตัดสำนวนในคดีอาญาด้วย โดยอาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544