หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 16 จากทั้งหมด 167 หน้า
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20
 
   
 
 
ภาษีห้องนอน
23 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
สวัสดิการของรัฐถือเป็นปัจจัยสำคัญที่เกื้อหนุนให้ประชาชนที่อยู่ในรัฐสมัยใหม่ ได้รับการดูแลหรืออุดหนุนจากภาครัฐ เพราะความหลากหลายและความเหลื่อมล้ำของประชาชนในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา ที่อยู่อาศัย สุขภาพ การจ้างงาน รายได้ในครัวเรือน กระบวนการยุติธรรม การอพยพและสังคมสงเคราะห์ทั่วไป จึงเป็นเหตุให้รัฐและท้องถิ่นจำต้องยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือให้ประชาชนที่มีความหลากหลายและความเหลื่อมล้ำในประเด็นต่างๆ สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีและดำรงชีวิตได้ในสังคมอย่างปกติสุข
ปฏิรูปอะไร ปฏิรูปอย่างไร
23 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
เราปฏิเสธไม่ได้ว่ากระแสปฏิรูปได้ถุกจุดติดขึ้นแล้ว จะมากหรือน้อย จะช้าหรือเร็วจะต้องมีการปฏิรุป เพราะข้อเสนอมาจากทั้งฝ่าย กปปส.และฝ่ายรัฐบาล แต่ข้อเสนอของแต่ละฝ่ายจะเป็นไปอย่างจริงจังและจริงใจแค่ไหน หรือจะเป็นเพียงวาทกรรมที่สวยหรูเพื่อสร้างความนิยมให้แกฝ่ายตนเองเท่านั้น ซึ่งระยะเวลาและการกระทำจะเป็นเครื่องพิสูจน์
แนวความคิดว่าด้วย การลงโทษทางวินัยแบบแอบแฝงในคดีบริหารงานบุคคลของประเทศฝรั่งเศส
09 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
การลงโทษทางวินัยแก่ข้าราชการตั้งอยู่บนพื้นฐานการเปิดโอกาสให้ฝ่ายปกครองมีความโปร่งใสในการออกคำสั่งลงโทษทางวินัย และเพื่อให้ข้าราชการผู้ถูกลงโทษทางวินัยได้รับความเป็นธรรม ดังนั้นพื้นฐานและแนวคิดดังกล่าวจึงส่งผลให้กฎหมายและคำพิพากษาของศาลได้วางหลักประกันที่สำคัญต่างๆเกี่ยวกับการลงโทษทางวินัย เช่น โทษทางวินัยจะต้องถูกกำหนดและระบุไว้โดยบทบัญญัติของกฎหมายเท่านั้น
คำพิพากษาการขอตีความในคดีปราสาทพระวิหาร: ประเด็นสำคัญที่ควรรู้
09 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
เมื่อวันที่ 28 เม.ย. 2554 กัมพูชาได้ยื่นขอให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ซึ่งต่อไปเรียกว่า “ศาลโลก” ตีความคำพิพากษาของวันที่ 15 มิ.ย. 2505 ในคดีปราสาทพระวิหาร ตามธรรมนูญของศาลโลกข้อ 60 พร้อมกันนี้กัมพูชาได้ยื่นคำร้องเร่งด่วนขอให้ศาลโลกกำหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราวตามธรรมนูญของศาลโลกข้อ 41 ให้ (1) ไทยถอนกำลังทหารออกจากส่วนของดินแดนกัมพูชาในพื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารในทันทีและไม่มีเงื่อนไข (2) ห้ามไทยดำเนินกิจกรรมทางทหารใดๆ ในบริเวณดังกล่าว และ (3) ให้ไทยงดเว้นการดำเนินการใดๆ ที่อาจกระทบสิทธิของกัมพูชาหรือเพิ่มความขัดแย้ง
สิทธิเลือกตั้ง VS สิทธิในการต่อต้านอำนาจรัฐ
09 กุมภาพันธ์ 2557
 
 
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ผ่านไปด้วยความตื่นเต้นของทั้งฝ่ายที่อยากเลือกตั้งและฝ่ายที่ไม่อยากให้มีการเลือกตั้งครั้งนี้เกิดขึ้น โดยต่างฝ่ายต่างมีเหตุผลที่น่ารับฟังด้วยกันทั้งคู่ เพราะเป็นการใช้สิทธิพื้นฐานที่ว่าด้วยสิทธิเลือกตั้งและสิทธิต่อต้านอำนาจรัฐมาต่อสู้กัน
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544