อ่านต่อหน้าสอง
[1]ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 กำหนดให้นำเอาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับเท่าที่พอจะใช้บังคับได้ ดังนั้นในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในคดีอาญาจึงต้องกระทำโดยอาศัยพยานหลักฐานในสำนวนเช่นเดียวกันกับคดีแพ่งนั่นเอง
[2]ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145 กำหนดให้ศาลคดีแพ่งต้องถูกผูกพันโดยคำพิพากษาของศาลแพ่งคดีก่อนหน้า และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46 กำหนดให้ศาลคดีแพ่งต้องถูกผูกพันโดยคำพิพากษาของศาลคดีอาญาก่อนหน้า
[4] พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศักราช 2542 มาตรา 123/1 เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
[5]ในเรื่องนี้ปรากฏว่าในเวลาต่อมา ศาลอาญาได้ปฏิเสธคำร้องขอถอนหมายจับของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ด้วยเหตุผลที่ว่า ข้อเท็จจริงที่ปรากฏจากการไต่สวนขอถอนหมายจับในคดีอาญาดังกล่าว มีความแตกต่างจากข้อเท็จจริงตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เพราะนอกจากจะมีการบุกยึดสถานที่ราชการตามที่ปรากฏในคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญแล้วตามข้อเท็จจริงที่ได้รับจากการไต่สวนยังปรากฏด้วยว่ามีการขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย อีกทั้งยังปรากฏด้วยว่ามีการตัดน้ำ ตัดไฟ อีกด้วย แสดงให้เห็นว่าศาลอาญาไม่นำเอาข้อเท็จจริงตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญมาใช้ในลักษณะของบทตัดสำนวนแต่อย่างใด ในทางกลับกัน ศาลอาญากลับเลือกรับฟังข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏจากพยานหลักฐานในการไต่สวนขอถอนหมายจับเป็นหลัก ดังที่ศาลอาญากล่าวว่า คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่ตรงกับข้อเท็จจริงในคดีนี้ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญดังกล่าวจึงไม่มีผลผูกพันศาลอาญา ให้ต้องรับฟังข้อเท็จจริงเช่นเดียวกันกับศาลรัฐธรรมนูญ (ที่มา: สำนักข่าวคม ชัด ลึ, ศาลอาญามีคำสั่งยกคำร้องขอถอนหมายจับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ [ออนไลน์],
http://www.komchadluek.net/detail/20131127/173689.html)
[6] Bryan A. Garner, Black’s Law Dictionary, 9
th ed. (St.Paul, Minn.: West Group, 2009), p.1425.
[7] An issue that has been definitively settled by judicial decision bars the same parties from litigating a second lawsuit on the same claim.
[8]Bryan A. Garner, Black’s Law Dictionary, p.298.
[9] A doctrine barring a party from relitigating an issue determined against that party in an earlier action.
[10]คำพิพากษาฎีกาที่ 2774/2546 (ระบบสืบค้นคำพิพากษา คำสั่งคำร้องและคำวินิจฉัยศาลฎีกา: www.
http://www.deka2007.supremecourt.or.th/deka/web/search.jsp)
โจทก์เคยฟ้องจำเลยที่ 1 และบุตรสาวต่อศาลแพ่งว่าร่วมกันก่อสร้างรั้วคอนกรีตพิพาทรุกล้ำที่ดินของโจทก์ ศาลแพ่งวินิจฉัยว่าพยานหลักฐานของโจทก์ฟังไม่ได้ว่าจำเลยก่อสร้างรั้วคอนกรีตพิพาทรุกล้ำที่ดินของโจทก์ พิพากษายกฟ้อง คดีแพ่งดังกล่าวถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาคดีแพ่งดังกล่าวย่อมผูกพันโจทก์และจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นคู่ความในคดีดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 145 วรรค 1 การที่โจทก์มาฟ้องจำเลยทั้งสองเป็นคดีนี้แม้จะเป็นคดีอาญา แต่คดีคงมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยว่ารั้วคอนกรีตพิพาทรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของโจทก์หรือไม่ อันเป็นประเด็นโดยตรงในคดีแพ่งดังกล่าว จึงต้องรับฟังว่าจำเลยที่ 1 ไม่ได้ก่อสร้างรั้วคอนกรีตพิพาทรุกล้ำที่ดินของโจทก์ การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 362 และมีผลถึงจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสามีของจำเลยที่ 1 ด้วย และเมื่อรั้วคอนกรีตพิพาทมิได้รุกล้ำที่ดินของโจทก์แล้ว ข้อเท็จจริงจึงฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองได้ยักย้ายหรือทำลายเครื่องหมายเขตแห่งที่ดินเพื่อถือเอาที่ดินส่วนใดของโจทก์มาเป็นของตนหรือของบุคคลที่สาม ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 363
[11]คำพิพากษาฎีกาที่ 5175/2547 (ระบบสืบค้นคำพิพากษา คำสั่งคำร้องและคำวินิจฉัยศาลฎีกา: www.
http://www.deka2007.supremecourt.or.th/deka/web/search.jsp)
เมื่อจำเลยที่ 1 ยื่นคำร้องขอให้พิจารณาใหม่ในคดีที่โจทก์ฟ้องให้ชำระหนี้เงินกู้และในที่สุดศาลฎีกามีคำพิพากษาวินิจฉัยว่ามีเหตุให้พิจารณาใหม่ตามคำร้องของจำเลยที่ 1 โดยฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยที่ 1 ไม่ทราบว่าถูกโจทก์ฟ้องให้ชำระหนี้เงินกู้ที่ศาลแพ่ง แต่เพิ่งมาทราบเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2540 ข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงเป็นอันยุติและผูกพันโจทก์กับจำเลยที่ 1 ผู้เป็นคู่ความด้วยเหตุนี้เอง การที่โจทก์กล่าวอ้างในฟ้องว่าเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2540 จำเลยทั้งสามร่วมกันโอนที่ดินพิพาททั้งสามแปลงในกรรมสิทธิ์ส่วนของจำเลยที่ 1 ให้แก่จำเลยที่ 2 แสดงให้เห็นว่าในวันตามฟ้องดังกล่าวจำเลยที่ 1 ยังไม่ทราบว่าถูกโจทก์ฟ้องให้ชำระหนี้เงินกู้ ดังนั้น ในขณะเกิดเหตุตามฟ้อง จึงไม่อาจฟังเป็นยุติว่าจำเลยทั้งสามร่วมกันโอนทรัพย์โดยรู้ว่าโจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ได้ใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ชำระหนี้ทั้งนี้เพื่อมิให้โจทก์ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด ไม่อาจถือได้ว่าจำเลยทั้งสามมีเจตนาร่วมกันกระทำความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 350
[12]สัมภาษณ์ประพันธ์ ทรัพย์แสง, ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์, 19 สิงหาคม 2556
[13]R. v. Hogam (1974) 2 All E.R.142.cited in R.J.Walker and M.G.Walker, The English Legal System, 5
th ed. (London: Butterworths, 1980), p.569.
[14]R. v. Humphrys (1977) 2 All E.R.497.cited in R.J.Walker and M.G.Walker, The English Legal System, 5
th ed. (London: Butterworths, 1980), p.569.
[15]Rupert Cross and Colin Tapper, Cross on Evidence, 7
th Edition (London: Butterworths, 1990), p.91.
[16] Ray B.Schlegel, Zinger v. Terrel: The Collateral Effect of Criminal Judgment in Subsequent Civil Litigation: New Law in Arkansas and the Question Unanswered, Arkansas Law Review (2001): 3.
[17] The Sixth Amendment of the United State Constitution: In all criminal prosecutions, the accused shall enjoy the right to a speedy and public trial, by an
impartial jury of the State and district wherein the crime shall have been committed, which district shall have been previously ascertained by law, and to be informed of the nature and cause of the accusation; to be confronted with the witnesses against him; to have compulsory process for obtaining witnesses in his favor, and to have the Assistance of Counsel for his defense.
[18] Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006): 7.
[19] State v. Scarbrough (2005) cited in Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006)
[20] Gutierrez v. Superior Court (1994) cited in Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006)
[21] Pena-Cabanillas v. United States (1968) cited in Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006)
[22] Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006): 5.
[23]Federal Rule of Evidence. Rule 609(a)
In General. The following rules apply to attacking a witness’s character for truthfulness by evidence of a criminal conviction:
(1) for a crime that, in the convicting jurisdiction, was punishable by death or by imprisonment for more than one year, the evidence:
(A) must be admitted, subject to
Rule 403, in a civil case or in a criminal case in which the witness is not a defendant; and
(B) must be admitted in a criminal case in which the witness is a defendant, if the probative value of the evidence outweighs its prejudicial effect to that defendant; and
(2) for any crime regardless of the punishment, the evidence must be admitted if the court can readily determine that establishing the elements of the crime required proving — or the witness’s admitting — a dishonest act or false statement.
[24]Federal Rule of Evidence. Rule 803(22)
The following are not excluded by the rule against hearsay, regardless of whether the declarant is available as a witness:
…(22) Judgment of a Previous Conviction. Evidence of a final judgment of conviction if:
(A) the judgment was entered after a trial or guilty plea, but not a nolo contendere plea;
(B) the conviction was for a crime punishable by death or by imprisonment for more than a year;
(C) the evidence is admitted to prove any fact essential to the judgment; and
(D) when offered by the prosecutor in a criminal case for a purpose other than impeachment, the judgment was against the defendant.The pendency of an appeal may be shown but does not affect admissibility…
[25] Ashe v. Swenson (1970) cited in Donald L.Catlett, Charles D.Moreland, Janet M.Thompson, Collateral Estoppel in Criminal Cases: How and Where Does It Apply?, Journal of Missouri Bar (November-December 2006).
[26] The Fifth Amendment of the United State Constitution : No person shall be held to answer for a capital, or otherwise infamous crime, unless on a presentment or indictment of a Grand Jury, except in cases arising in the land or naval forces, or in the Militia, when in actual service in time of War or public danger; nor shall any person
be subject for the same offense to be twice put in jeopardy of life or limb; nor shall be compelled in any criminal case to be a witness against himself, nor be
deprived of life, liberty, or property, without
due process of law; nor shall private property be taken for publicuse, without just compensation.
[27] The Fourteenth Amendment of the United State Constitution :All persons born or naturalized in the United States, and subject to the
jurisdiction thereof, are citizens of the United States and of the State wherein they reside. No State shall make or enforce any law which shall abridge the privileges or immunities of citizens of the United States; nor shall any State
deprive any person of life, liberty, or property, without
due process of law; nor deny to any person within its
jurisdiction the equal protection of the laws…
[28]Edward W.Cleary and others, Mccormick on Evidence, 3
rd ed.(St.Paul,Minn: West Publishing, 1984), p.894.
[29] Cass. Civ.,7 mars 1855, affaire Quertier, D., 1855.I.81, อ้างถึงใน ปกป้อง ศรีสนิท, ศาลที่พิจารณาคดีแพ่งจำต้องถือตามคำพิพากษาคดีอาญาเพียงใด, วารสารนิติศาสตร์37, ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2551): 374.
[30]จิ๊ด เศรษฐบุตร, หลักกฎหมายแพ่งลักษณะละเมิด, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550), หน้า 27-28.
[33]Budak, A.C., Res Judicata in Civil Proceedings in Common Law and Civillian Systems with Special Reference to Turkish and English Law, Civil Justice Quarterly (1992) : 1-2.
[34]สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์, การมีส่วนร่วมของผู้เสียหายในกระบวนพิจารณาคดีอาญาตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเยอรมัน, ดุลพาห58 เล่มที่ 2:104.
[35]รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ครั้งที่ 407-17/2515 วันอังคารที่ 6 มิถุนายน 2515 , สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.