หน้าแรก บทความสาระ
New Paradigm – กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ 2 (พ.ศ.๒๕๔๙ – ๒๕๕๐) โดย ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์
ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์
1 ตุลาคม 2549 21:37 น.
 

(แนวการอภิปราย ของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์)
       
       

New Paradigm – กระบวนทัศน์ใหม่
       
       

สำหรับการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ 2 (พ.ศ.๒๕๔๙ – ๒๕๕๐)
       
       

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ – ๑๓ กันยายน ๒๕๔๙
       
       

******************************
       
       


       [หมายเหตุ :- ส่วนที่ ๑ และส่วนที่ ๒ เป็นเอกสารบรรยาย ; และส่วนที่ ๓ และส่วนที่ ๔ เป็นการบรรยายด้วยวาจา]
       
       ส่วนที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนรัฐธรรมนูญ
       - เอกสารทางวิชาการ ๖ ชุด
       สามารถอ่านได้ใน ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 1
       ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 2
       ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 3
       ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 4
       ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 5
       ส่วนที่ 1 เอกสารวิชาการหมายเลข 6
       
       ส่วนที่ ๒ “วิธีการ” กำหนดนโยบายของพรรคการเมือง (พรรคใหม่)
       - การปฏิรูปการเมือง
       - นโยบายระยะสั้นในช่วงการปฏิรูปการเมือง
       - การปรับ “นโยบายเอื้ออาทร”
       
       สามารถอ่านได้ใน ส่วนที่ 2
       * * * * * * * *
       - รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร (ถ้ามีการปฏิรูปการเมือง)
       
       ส่วนที่ ๓ Old Paradigm VS New Paradigm
       ๓.๑ Old Paradigmในอดีต (พ.ศ.๒๔๗๕ – ปัจจุบัน)
       - วิวัฒนาการของระบบสถาบันการเมืองไทยโดยสรุป จาก พ.ศ.๒๔๗๕ ถึง ๒๕๓๔ (ทหาร VS นักเลือกตั้ง)
       - พ.ศ.๒๕๓๕ (พฤษภาทมิฬ) : ทหารหมดบทบาททางการเมือง / เริ่มต้นยุคผูกขาดอำนาจ โดย นักเลือกตั้งนายทุนท้องถิ่น
       
- “สภาร่างรัฐธรรมนูญ – ส.ส.ร. (พ.ศ.๒๕๓๙)” ตกเป็นเครื่องมือของนายทุนท้องถิ่นในการสร้างระบบเผด็จการโดยพรรคการเมืองเพื่อประโยชน์ของตนเอง (รธน.พ.ศ.๒๕๔๐)
       - พ.ศ.๒๕๔๔ ระบบเผด็จการโดยพรรคการเมืองนายทุนท้องถิ่น ถูกยึดครองโดยพรรคการเมืองนายทุนระดับชาติ (พรรคไทยรักไทย)ที่มีอำนาจเงินเหนือกว่า
       
       ๓.๒ Old Paradigmในอนาคตกลวิธี” ของพรรคการเมือง เพื่อการเลือกตั้งครั้งต่อไป)
       - “สภาปฏิรูปการเมือง” เสนอโดยพรรคไทยรักไทย (เพื่อรักษาอำนาจที่ตนมีอยู่ในปัจจุบัน)
       - “คณะกรรมการพิเศษเพื่อการแก้ไขเพิ่มเติม รธน.” เสนอโดยพรรคประชาธิปัตย์ (ความหวังของพรรคการเมืองนายทุนท้องถิ่น ให้“พลังประชาชน”ล้มพรรคการเมืองนายทุนระดับชาติ เพื่อกลับเข้าผูกขาดอำนาจการเมือง ดังเช่นที่เคยทำมาแล้วในปี พ.ศ.๒๕๓๕)
       ๓.๓ New Paradigm : หนทางของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ เพื่ออนาคตของคนไทย
       - คณะกรรมการพิเศษเพื่อยกร่าง รธน. แห่งชาติ เสนอโดยนักวิชาการ
       
       ส่วนที่ ๔ นโยบายระยะสั้น ในช่วงระยะเวลาการปฏิรูปการเมือง (๑.๕ ปี)และการปรับ “นโยบายเอื้ออาทร”
       

       ******************************
       
       สรุป
       คนไทยไม่ใช่มีหน้าที่แต่เพียงป้องกันไม่ให้ “คนไม่ดี” เข้ามาปกครองบ้านเมือง
       แต่คนไทยยังมีหน้าที่
       
ต้องทำให้ “คนดี” ได้เข้ามาปกครองบ้านเมืองด้วย
       
       
       
       สามารถอ่านรายละเอียด นโยบายของพรรคการเมือง(พรรคใหม่)
       รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร(ถ้าหากมีการปฏิรูปการเมือง) ที่นี่


 
 
หลักความเสมอภาค
องค์กรอิสระ : ความสำคัญต่อการปฏิรูปการเมืองและการปฏิรูประบบราชการ โดย คุณนพดล เฮงเจริญ
ปัญหาของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติในประเทศไทย
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน : ผลในทางปฏิบัติ เมื่อครบรอบหกปีของการปฏิรูปการเมือง
หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม
   
 
 
 
PAYS DE BREST : COOPERER VOLONTAIREMENT AU SERVICE DU TERRITOIRE
La violence internationale : un changement de paradigme
การลงทะเบียนเพื่อรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในประเทศไทย: มิติด้านกฎหมายและเทคโนโลยี
Tensions dans le cyber espace humanitaire au sujet des logos et des embl?mes
คุณูปการของศาสตราจารย์พิเศษ ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ต่อการพัฒนากฎหมายปกครองและกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง : งานที่ได้ดำเนินการไว้ให้แล้วและงานที่ยังรอการสานต่อ
การเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรม
ยาแก้โรคคอร์รัปชันยุคใหม่
สหพันธรัฐ สมาพันธรัฐ คืออะไร
มองอินโด มองไทย ในเรื่องการกระจายอำนาจ
การฟ้องปิดปาก
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544