หน้าแรก ผลงานของนักวิชาการ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
11 เมษายน 2550 11:35 น.
 
ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
       

       ตำแหน่ง
              - อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
              - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
              - เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
              
       คุณวุฒิ
           - ปริญญาเอกทางกฎหมายมหาชน (เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยปารีส 10 ประเทศฝรั่งเศส
              
       ผลงาน บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
       

       

           
  1. พระราชฐานะของพระมหากษัตริย์ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร, วารสารกฎหมายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 3 พฤษภาคม - สิงหาคม 2520, หน้า 148 - 183. (แต่งร่วมกับ ศ.ดร. วิษณุ เครืองาม)

  2.        
           
  3.  ผู้แปลและเรียบเรียง, ปัญหาการตีความรัฐธรรมนูญและทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ แปลจาก le probleme de l'interpretion et la Theorie de la supralegalite constitutionnelle โดย Michel TROPER. In Melanges EISENMANN, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527): หน้า 1 - 41.

  4.        
           
  5. เป็นบรรณาธิการหนังสือมิติต่างๆ ของการเผยแพร่กฎหมายในประเทศไทยในปัจจุบัน, กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528: 210 หน้า

  6.        
           
  7. บทบาทของอัยการและตุลาการในการเผยแพร่กฎหมาย, เสนอในการประชุมสัมมนาเรื่อง โครงการเผยแพร่กฎหมายในจังหวัดฉะเชิงเทรา วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม 2528 และวันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน 2528 ณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามลำดับ, 18 หน้า.

  8.        
           
  9. ภาพรวมความรับผิดในวิชาชีพของสถาปนิกและวิศวกรในกฎหมายฝรั่งเศสและไทย, เสนอในการประชุมสัมมนา เรื่อง สถาปนิกวิศวกร และความรับผิดทางกฎหมาย จัดโดยคณะนิติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคมสถาปนิกสยาม 8 พฤศจิกายน 2528 ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 34 หน้า.

  10.        
           
  11. สัญญาทางปกครองฝรั่งเศส, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 5 (2529).

  12.        
           
  13. วิธีพิจารณาคดีปกครองในฝรั่งเศส, บทความจากเอกสารโครงการฝึกอบรมนิติกร หลักสูตร “หลักกฎหมายปกครอง: วิธีสบัญญัติ” ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 26 - 27 สิงหาคม 2530.   

  14.        
           
  15. กฎหมายไทย: ให้อำนาจหรือกรอบนโยบาย, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง บทบาทของ ส.ส. กับการกำหนดนโยบายการเกษตร จัดโดย คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2530 ณ ห้องประชุม ชั้น 3 อาคารบี รัฐสภา.
           
           

  16.        
  17. ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการถ่ายทอดการประชุมรัฐสภาทางวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. …, รัฐสภาสาร, ปีที่ 36 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2531), หน้า 1 - 15.

  18.        
           
  19. วิธีพิจารณาคดีปกครองในฝรั่งเศส, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 7 ตอน 3 (ธันวาคม 2531).

  20.        
           
  21. วิกฤติการณ์ความล้าหลังของกฎหมายไทย: การพัฒนาที่ก้าวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ, Chulalongkorn Review, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (2533), หน้า 68 - 79.

  22.        
           
  23. ความเป็นอิสระของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, จุฬาสัมพันธ์ฉบับพิเศษ, หน้า 19 - 44.

  24.        
           
  25. ชุมชนท้องถิ่น: ทัศนะและภารกิจที่ท้าทาย, ทิศทางไท, (เมษายน 2535), หน้า16 - 26.

  26.        
           
  27. รัฐธรรมนูญไทย: วิเคราะห์โครงสร้างและกลไก, รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม. ม.ป.ท., 2535. 

  28.        
           
  29. ระบบควบคุมฝ่ายปกครองโดยศาลในประเทศอังกฤษ, วารสารกฎหมาย, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (มกราคม 2536).

  30.        
           
  31. ข้อสังเกตเชิงกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ, รพีสาร, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (เมษายน - มิถุนายน 2536).

  32.        
           
  33. ภาพรวมกฎหมายเกี่ยวกับภัยพิบัติและวัตถุอันตราย, เอกสารประกอบการสัมมนา แนวทางการป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟูผลอันเนื่องมาจากพิบัติภัย เรื่องการจัดการด้ายพิบัติภัยในประเทศไทย: การจัดการด้านองค์การและกฎหมาย ในวันที่ 16 - 17 สิงหาคม 2536. 

  34.        
           
  35. ข้อสังเกตเชิงกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ, เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาวิชาการ พ.ศ. 2536 สิทธิชุมชน: การกระจายอำนาจจัดการทรัพยากร.

  36.        
           
  37. ความเป็นมาของระบบศาลเดี่ยวในอังกฤษและระบบศาลคู่ในฝรั่งเศส, ดุลพาห, ปีที่ 41 เล่ม 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2537).

  38.        
           
  39. ทิศทางการวิจัยนิติศาสตร์ไทยเพื่อการพัฒนา, รพี 37 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, หน้า 21 - 36.

  40.        
           
  41. ระบบการควบคุมการใช้อำนาจของรัฐ, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 13 ตอน 2 (สิงหาคม 2537).

  42.        
           
  43. ศาลปกครอง กฎหมายปกครอง และตัวอย่าง “สัญญาทางด่วน”, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 13 ตอน 2 (สิงหาคม 2537).

  44.        
           
  45. โครงสร้างการบริหารงานบุคคลของผู้พิพากษาในบางประเทศ, หนังสือครบรอบ 84 ปี ศาสตราจารย์ จิตติ ติงศภัทิย์, คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 15 - 43.

  46.        
           
  47. เป็นบรรณาธิการและกรรมการและเลขานุการโครงการจัดทำสารานุกรมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ไปแล้วเมื่อเดือนมีนาคม 2537.  

  48.        
           
  49. ความเป็นมาของระบบศาลเดี่ยวในอังกฤษและระบบศาลคู่ในฝรั่งเศส, บทบัณฑิตย์, เล่ม 51 ตอน 1 (มีนาคม 2538). วารสารกฎหมาย, ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (สิงหาคม 2538).

  50.        
           
  51. ระบบการตรวจสอบทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง, วารสารกฎหมาย, ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).

  52.        
           
  53. การตีความกฎหมาย: ตัวอักษรหรือเจตนารมณ์, วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, ปีที่ 1 เล่มที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542), หน้า 31 - 39.

  54.        
           
  55. พระราชฐานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ, สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก, โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, หน้า 82 - 105.

  56.        
           
  57. เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย.

  58.        
           
  59. บทบาทของสมาชิกวุฒิสภา, วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน, 2543).

  60.        
           
  61. ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ กับกฎหมายมหาชนไทย, อาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.

  62.        
           
  63. แนวคิดการมีผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ, วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม - มีนาคม 2546).

  64.        
           
  65. ร่างกฎหมายที่ผ่านรัฐสภาผิด: จะป้องกันและแก้ไขอย่างไร? , www.pub-law.net, 29 ธันวาคม 2546.

  66.        
           
  67. ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่คาดหวังในการปฏิรูปการเมือง, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 55 - 72.

  68.        
           
  69. ส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง: ความยั่งยืนของประชาธิปไตย, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 287 - 298. 

  70.        
           
  71. ที่มาของกฎหมายมหาชนและหลักความชอบด้วยกฎหมาย, คู่มือการศึกษาวิชากฎหมายปกครอง, กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2547, หน้า 1 - 144

  72.        
           
  73. ภูมิหลังมาตรา 50 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารกฎหมาย ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 (กันยายน 2547) หน้า 37 - 50.

  74.        
           
  75. หน้าที่และบทบาทของวุฒิสภาและสมาชิกวุฒิสภา, หนังสือที่ระลึก รพี’ 49 สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, หน้า 98 - 123.

  76.        
           
  77. Depoliticizing Key Institution for Combating Corruption: Case Study of The New Thai Constitution, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง Combating Corruption: Addressing Institution Failure จัดโดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) วันที่ 4 พฤษภาคม 2543 ณ ห้องธาราทอง 2 โรงแรม Westin Riverside Plaza จังหวัดเชียงใหม่.

  78.        
           
  79. The Thai Constitution of 1997: Source and Process, University of British Colombia Law Review 32 (2): 227 - 247. (แต่งร่วมกับ Wayne D.Burns).

  80.        
           
  81. Legal Framework on Transport of Hazardous Substance, The Appraisal Report For GTZ.

  82.        
           
  83. Regulation and Regulatory Reform in Economic and Social Matter in Thailand, บทความเสนอในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการไทย - เยอรมัน ครั้งที่ 2, 5 - 8 สิงหาคม 2536, 25หน้า.

  84.        
           
  85. Introduction to the Thai Legal System, in Legal Systems in the Asean Region, Asean Law Association. Pp.71 - 146. Bangkok: Amarin Printing, 1987. (ร่วมกับ ดร. สุรเกียรติ เสถียรไทย)

  86.        
           
  87. La privatisation en Thailande, in Comprendre l'Asean. Le Communicateur , pp.127 - 134,avec le concours des Communautes Europeennes. A.S.1.E., Paris: Bose Freres, 1993.

  88.        
           
  89. พลวัตของการเมืองไทย, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 28 - 37.

  90.        
           
  91. วัฒนธรรมไทยกับความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เอกลักษณ์ของประชาธิปไตยไทยในกระแสประชาธิปไตยโลก, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 38 - 46.

  92.        
           
  93. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับความเสียสละเรื่องส่วนพระองค์เพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 23 - 27.

  94.        

       หนังสือ (บางส่วน)
              หมายเหตุ:การเปิดดูสารบัญนั้น ท่านจะต้องมีโปรแกรม Adobe Acrobat อยู่ในเครื่องของท่านด้วย หากยังไม่มีสามารถ Download ได้จากส่วนท้ายของหน้านี้
       
       

           
  1. กฎหมายมหาชน เล่ม 1: วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมายมหาชนยุคต่าง ๆ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2536. สารบัญ (PDF)

  2.        
           
  3. กฎหมายมหาชน เล่ม 2: การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน - เอกชน และพัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2537. สารบัญ (PDF)

  4.        
           
  5. กฎหมายมหาชน เล่ม 3: ที่มาและนิติวิธี. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2538. สารบัญ (PDF)

  6.        
           
  7. คำอธิบายธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520. กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์, 2520. (แต่งร่วมกับ ศ.ดร. วิษณุ เครืองาม)

  8.        
           
  9. คำอธิบายวิชาธรรมนูญศาลยุติธรรม, 2520.

  10.        
           
  11. คำบรรยายวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, 2520.

  12.        
           
  13. คำบรรยายกฎหมายว่าด้วยนิติกรรมสัญญา. กรุงเทพฯ: เอกสารโรเนียวเย็บเล่มโดยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.

  14.        
           
  15. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 2 เรื่อง สกุลกฎหมายโรมาโน - เยอรมันนิค. สาขานิติศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ: บริษัทวิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์ จำกัด , 2528. หน้า 57 - 140. พร้อมแบบฝึกหัดปฏิบัติชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 2. หน้า 18 - 28.

  16.        
           
  17. คู่มือการเจรจาต่อรองการทำสัญญาร่วมลงทุนไทยกับต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนาคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535. (แต่งร่วมกับ เข็มชัย ชุติวงศ์, ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย)

  18.        
           
  19. กฎหมายกับทางเลือกของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2537. สารบัญ (PDF)

  20.        
           
  21. ระบบการควบคุมฝ่ายปกครองในประเทศอังกฤษ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม , 2537. สารบัญ (PDF)

  22.        
           
  23. การปฏิรูปการเมืองฝรั่งเศส : ข้อคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2540.  

  24.        
           
  25. รัฐธรรมนูญน่ารู้. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.

  26.        
           
  27. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า , 2543.

  28.        
           
  29. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2543. (แต่งร่วมกับ ปัทมา สูบกำปัง)

  30.        
           
  31. การศึกษาบทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้งให้ดีขึ้น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

  32.        
           
  33. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และปัทมา สูบกำปัง. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.

  34.        
           
  35. วุฒิสภาไทย: ความรู้เรื่องสมาชิกวุฒิสภา. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545. 

  36.        
           
  37. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และนันทชัย เพียรสนอง. คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2548.

  38.        
           
  39. แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการและให้ข้อมูลแก่นายกรัฐมนตรีคนใหม่ เพื่อประกอบการกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2549.

  40.        
           
  41. พลวัตของการเมืองไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2550.

  42.        
           
  43. วิกฤตเศรษฐกิจและวิกฤตทางการเมืองในประเทศไทยในอดีตและปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2552.

  44.        
           
  45. คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2553.

  46.        
           



 
 
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์
ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
   
 
 
 
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
รศ.ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์
ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
ศ. ดร.อมร จันทรสมบูรณ์
ศ. ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์
รศ.ดร. โภคิน พลกุล
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544