ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

11 เมษายน 2550 11:35 น.

       ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
       

       ตำแหน่ง
              - อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
              - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
              - เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
              
       คุณวุฒิ
           - ปริญญาเอกทางกฎหมายมหาชน (เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยปารีส 10 ประเทศฝรั่งเศส
              
       ผลงาน บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
       

       
       พระราชฐานะของพระมหากษัตริย์ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร, วารสารกฎหมายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 3 พฤษภาคม - สิงหาคม 2520, หน้า 148 - 183. (แต่งร่วมกับ ศ.ดร. วิษณุ เครืองาม)
       
        ผู้แปลและเรียบเรียง, ปัญหาการตีความรัฐธรรมนูญและทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ แปลจาก le probleme de l'interpretion et la Theorie de la supralegalite constitutionnelle โดย Michel TROPER. In Melanges EISENMANN, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527): หน้า 1 - 41.
       
       เป็นบรรณาธิการหนังสือมิติต่างๆ ของการเผยแพร่กฎหมายในประเทศไทยในปัจจุบัน, กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528: 210 หน้า
       
       บทบาทของอัยการและตุลาการในการเผยแพร่กฎหมาย, เสนอในการประชุมสัมมนาเรื่อง โครงการเผยแพร่กฎหมายในจังหวัดฉะเชิงเทรา วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม 2528 และวันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน 2528 ณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามลำดับ, 18 หน้า.
       
       ภาพรวมความรับผิดในวิชาชีพของสถาปนิกและวิศวกรในกฎหมายฝรั่งเศสและไทย, เสนอในการประชุมสัมมนา เรื่อง สถาปนิกวิศวกร และความรับผิดทางกฎหมาย จัดโดยคณะนิติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคมสถาปนิกสยาม 8 พฤศจิกายน 2528 ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 34 หน้า.
       
       สัญญาทางปกครองฝรั่งเศส, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 5 (2529).
       
       วิธีพิจารณาคดีปกครองในฝรั่งเศส, บทความจากเอกสารโครงการฝึกอบรมนิติกร หลักสูตร “หลักกฎหมายปกครอง: วิธีสบัญญัติ” ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 26 - 27 สิงหาคม 2530.   
       
       กฎหมายไทย: ให้อำนาจหรือกรอบนโยบาย, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง บทบาทของ ส.ส. กับการกำหนดนโยบายการเกษตร จัดโดย คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2530 ณ ห้องประชุม ชั้น 3 อาคารบี รัฐสภา.
       
       
       ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการถ่ายทอดการประชุมรัฐสภาทางวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. …, รัฐสภาสาร, ปีที่ 36 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2531), หน้า 1 - 15.
       
       วิธีพิจารณาคดีปกครองในฝรั่งเศส, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 7 ตอน 3 (ธันวาคม 2531).
       
       วิกฤติการณ์ความล้าหลังของกฎหมายไทย: การพัฒนาที่ก้าวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ, Chulalongkorn Review, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (2533), หน้า 68 - 79.
       
       ความเป็นอิสระของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, จุฬาสัมพันธ์ฉบับพิเศษ, หน้า 19 - 44.
       
       ชุมชนท้องถิ่น: ทัศนะและภารกิจที่ท้าทาย, ทิศทางไท, (เมษายน 2535), หน้า16 - 26.
       
       รัฐธรรมนูญไทย: วิเคราะห์โครงสร้างและกลไก, รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม. ม.ป.ท., 2535. 
       
       ระบบควบคุมฝ่ายปกครองโดยศาลในประเทศอังกฤษ, วารสารกฎหมาย, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (มกราคม 2536).
       
       ข้อสังเกตเชิงกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ, รพีสาร, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (เมษายน - มิถุนายน 2536).
       
       ภาพรวมกฎหมายเกี่ยวกับภัยพิบัติและวัตถุอันตราย, เอกสารประกอบการสัมมนา แนวทางการป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟูผลอันเนื่องมาจากพิบัติภัย เรื่องการจัดการด้ายพิบัติภัยในประเทศไทย: การจัดการด้านองค์การและกฎหมาย ในวันที่ 16 - 17 สิงหาคม 2536. 
       
       ข้อสังเกตเชิงกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ, เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาวิชาการ พ.ศ. 2536 สิทธิชุมชน: การกระจายอำนาจจัดการทรัพยากร.
       
       ความเป็นมาของระบบศาลเดี่ยวในอังกฤษและระบบศาลคู่ในฝรั่งเศส, ดุลพาห, ปีที่ 41 เล่ม 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2537).
       
       ทิศทางการวิจัยนิติศาสตร์ไทยเพื่อการพัฒนา, รพี 37 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, หน้า 21 - 36.
       
       ระบบการควบคุมการใช้อำนาจของรัฐ, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 13 ตอน 2 (สิงหาคม 2537).
       
       ศาลปกครอง กฎหมายปกครอง และตัวอย่าง “สัญญาทางด่วน”, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม 13 ตอน 2 (สิงหาคม 2537).
       
       โครงสร้างการบริหารงานบุคคลของผู้พิพากษาในบางประเทศ, หนังสือครบรอบ 84 ปี ศาสตราจารย์ จิตติ ติงศภัทิย์, คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 15 - 43.
       
       เป็นบรรณาธิการและกรรมการและเลขานุการโครงการจัดทำสารานุกรมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ไปแล้วเมื่อเดือนมีนาคม 2537.  
       
       ความเป็นมาของระบบศาลเดี่ยวในอังกฤษและระบบศาลคู่ในฝรั่งเศส, บทบัณฑิตย์, เล่ม 51 ตอน 1 (มีนาคม 2538). วารสารกฎหมาย, ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (สิงหาคม 2538).
       
       ระบบการตรวจสอบทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง, วารสารกฎหมาย, ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).
       
       การตีความกฎหมาย: ตัวอักษรหรือเจตนารมณ์, วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, ปีที่ 1 เล่มที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542), หน้า 31 - 39.
       
       พระราชฐานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ, สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก, โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, หน้า 82 - 105.
       
       เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย.
       
       บทบาทของสมาชิกวุฒิสภา, วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน, 2543).
       
       ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ กับกฎหมายมหาชนไทย, อาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.
       
       แนวคิดการมีผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ, วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม - มีนาคม 2546).
       
       ร่างกฎหมายที่ผ่านรัฐสภาผิด: จะป้องกันและแก้ไขอย่างไร? , www.pub-law.net, 29 ธันวาคม 2546.
       
       ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่คาดหวังในการปฏิรูปการเมือง, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 55 - 72.
       
       ส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง: ความยั่งยืนของประชาธิปไตย, รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 287 - 298. 
       
       ที่มาของกฎหมายมหาชนและหลักความชอบด้วยกฎหมาย, คู่มือการศึกษาวิชากฎหมายปกครอง, กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2547, หน้า 1 - 144
       
       ภูมิหลังมาตรา 50 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารกฎหมาย ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 (กันยายน 2547) หน้า 37 - 50.
       
       หน้าที่และบทบาทของวุฒิสภาและสมาชิกวุฒิสภา, หนังสือที่ระลึก รพี’ 49 สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, หน้า 98 - 123.
       
       Depoliticizing Key Institution for Combating Corruption: Case Study of The New Thai Constitution, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง Combating Corruption: Addressing Institution Failure จัดโดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) วันที่ 4 พฤษภาคม 2543 ณ ห้องธาราทอง 2 โรงแรม Westin Riverside Plaza จังหวัดเชียงใหม่.
       
       The Thai Constitution of 1997: Source and Process, University of British Colombia Law Review 32 (2): 227 - 247. (แต่งร่วมกับ Wayne D.Burns).
       
       Legal Framework on Transport of Hazardous Substance, The Appraisal Report For GTZ.
       
       Regulation and Regulatory Reform in Economic and Social Matter in Thailand, บทความเสนอในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการไทย - เยอรมัน ครั้งที่ 2, 5 - 8 สิงหาคม 2536, 25หน้า.
       
       Introduction to the Thai Legal System, in Legal Systems in the Asean Region, Asean Law Association. Pp.71 - 146. Bangkok: Amarin Printing, 1987. (ร่วมกับ ดร. สุรเกียรติ เสถียรไทย)
       
       La privatisation en Thailande, in Comprendre l'Asean. Le Communicateur , pp.127 - 134,avec le concours des Communautes Europeennes. A.S.1.E., Paris: Bose Freres, 1993.
       
       พลวัตของการเมืองไทย, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 28 - 37.
       
       วัฒนธรรมไทยกับความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เอกลักษณ์ของประชาธิปไตยไทยในกระแสประชาธิปไตยโลก, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 38 - 46.
       
       พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับความเสียสละเรื่องส่วนพระองค์เพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง, จุลนิติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2552), หน้า 23 - 27.
       
       หนังสือ (บางส่วน)
              หมายเหตุ:การเปิดดูสารบัญนั้น ท่านจะต้องมีโปรแกรม Adobe Acrobat อยู่ในเครื่องของท่านด้วย หากยังไม่มีสามารถ Download ได้จากส่วนท้ายของหน้านี้
       
       
       กฎหมายมหาชน เล่ม 1: วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมายมหาชนยุคต่าง ๆ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2536. สารบัญ (PDF)
       
       กฎหมายมหาชน เล่ม 2: การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน - เอกชน และพัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2537. สารบัญ (PDF)
       
       กฎหมายมหาชน เล่ม 3: ที่มาและนิติวิธี. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2538. สารบัญ (PDF)
       
       คำอธิบายธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520. กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์, 2520. (แต่งร่วมกับ ศ.ดร. วิษณุ เครืองาม)
       
       คำอธิบายวิชาธรรมนูญศาลยุติธรรม, 2520.
       
       คำบรรยายวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, 2520.
       
       คำบรรยายกฎหมายว่าด้วยนิติกรรมสัญญา. กรุงเทพฯ: เอกสารโรเนียวเย็บเล่มโดยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.
       
       เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 2 เรื่อง สกุลกฎหมายโรมาโน - เยอรมันนิค. สาขานิติศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ: บริษัทวิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์ จำกัด , 2528. หน้า 57 - 140. พร้อมแบบฝึกหัดปฏิบัติชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ หน่วยที่ 2. หน้า 18 - 28.
       
       คู่มือการเจรจาต่อรองการทำสัญญาร่วมลงทุนไทยกับต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนาคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535. (แต่งร่วมกับ เข็มชัย ชุติวงศ์, ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย)
       
       กฎหมายกับทางเลือกของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2537. สารบัญ (PDF)
       
       ระบบการควบคุมฝ่ายปกครองในประเทศอังกฤษ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม , 2537. สารบัญ (PDF)
       
       การปฏิรูปการเมืองฝรั่งเศส : ข้อคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2540.  
       
       รัฐธรรมนูญน่ารู้. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.
       
       บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า , 2543.
       
       บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2543. (แต่งร่วมกับ ปัทมา สูบกำปัง)
       
       การศึกษาบทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้งให้ดีขึ้น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
       
       บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และปัทมา สูบกำปัง. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
       
       วุฒิสภาไทย: ความรู้เรื่องสมาชิกวุฒิสภา. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545. 
       
       บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และนันทชัย เพียรสนอง. คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2548.
       
       แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการและให้ข้อมูลแก่นายกรัฐมนตรีคนใหม่ เพื่อประกอบการกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2549.
       
       พลวัตของการเมืองไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2550.
       
       วิกฤตเศรษฐกิจและวิกฤตทางการเมืองในประเทศไทยในอดีตและปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
       
       คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2553.
       
       


พิมพ์จาก http://public-law.net/view.aspx?ID=1092
เวลา 20 ธันวาคม 2567 05:52 น.
Pub Law Net (http://www.pub-law.net)