หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 59 จากทั้งหมด 167 หน้า
51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60
 
   
 
 
ผลทางกฎหมายในการเลือกประธานศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่
28 สิงหาคม 2554
 
 
เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ๙ คน (คนที่ลาออกไป ๑ คน และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เหลืออีก ๘ คน) มีมติเป็นเอกฉันท์เลือกนายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ เป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ แทนนายชัช ชลวร อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญซึ่งลาออกไปเมื่อวันที่ ๑๐ เดือนเดียวกัน และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญจะแจ้งผลให้ประธานวุฒิสภาทราบเพื่อพิจาณานำขึ้นทูลเกล้าฯ ต่อไป
เมื่อประธานศาลรัฐธรรมนูญลาออก
14 สิงหาคม 2554
 
 
หลายวันที่ผ่านมา มีข่าวด่วนในสื่อมวลชนหลายแขนงว่า นายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้นายชัช ชลวร ลาออกจากตำแหน่งประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นเหตุให้นายชัชพ้นจากตำแหน่งประธานศาลรัฐธรรมนูญ แต่ยังคงให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต่อไปจนครบวาระ
วิจารณ์ร่าง พรบ.เชียงใหม่มหานครฯ
14 สิงหาคม 2554
 
 
ความเห็นแย้งต่อคำสั่งศาลโลก 18 ก.ค. 2554 และข้อเสนอแนะ
14 สิงหาคม 2554
 
 
เมื่อวันที่ 28 เม.ย. 2554 กัมพูชาได้ยื่นขอให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice: ICJ ซึ่งต่อไปเรียกว่า “ศาลโลก”) ตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารที่ศาลโลกได้ตัดสินเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2505 และพร้อมกันนี้กัมพูชาได้ยื่นคำร้องเร่งด่วนขอให้ศาลโลกกำหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราว โดยอ้างในคำร้องว่าตั้งแต่วันที่ 22 เม.ย. 2554 เป็นต้นมาได้เกิดเหตุการณ์ที่ร้ายแรงในอาณาบริเวณปราสาทพระวิหาร รวมทั้งอาณาบริเวณอื่นตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา อันเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ และประชาชนต้องอพยพหนีภัย โดยเหตุการณ์ทั้งหมดไทยเป็นผู้ทำให้เกิดขึ้น
ออก พ.ร.ก.ยกเลิกรัฐธรรมนูญปี 50 ไปใช้ ปี 40 ทำไม่ได้
31 กรกฎาคม 2554
 
 
ผมไม่อยากเชื่อว่าข่าวจากคอลัมน์บุคคลในข่าวของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับประจำวันที่ 16 กรกฎาคม 2554 ที่รายงานว่า นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ ที่ปรึกษาคณะทำงานด้านกฎหมายของพรรคเพื่อไทย เสนอให้มีการทำประชามติว่าจะเลือกใช้รัฐธรรมนูญปี 40 หรือ 50 และเชื่อว่าประชาชนจะเลือกรัฐธรรมนูญปี 40 แล้วหลังจากนั้นก็ให้ฝ่ายบริหารออกพระราชกำหนดนำรัฐธรรมนูญปี 40 กลับมาใช้นั้นเป็นความจริง
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544