หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 53 จากทั้งหมด 167 หน้า
51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60
 
   
 
 
รัฐธรรมนูญ อุดมคติหรือขยะทางความคิด ๔
04 ธันวาคม 2554
 
 
การบริหารราชการแผ่นดินเป็นอำนาจของฝ่ายบริหารโดยผ่านกลไกของรัฐทั้งราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งต่างก็เป็นองคาพยพของฝ่ายบริหาร ทั้งนี้การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการปกครองในแบบของการกระจายอำนาจในเชิงพื้นที่
มายาคติและข้อสงสัยในการยกเลิกราชการส่วนภูมิภาค
04 ธันวาคม 2554
 
 
อนุสนธิการยกร่าง พรบ.ระเบียบบริหารราชการเชียงใหม่มหานครฯฉบับประชาชน เมื่อเดือนมกราคม๒๕๕๔ ที่ผ่านมา โดยจะเสนอเข้าสู่สภาประมาณกลางปีหน้า ซึ่งเสนอให้เชียงใหม่มีการบริหารราชการเฉพาะราชการส่วนกลางกับราชการส่วนท้องถิ่นเท่านั้น โดยยกเลิกราชการส่วนภูมิภาคเสีย กอปรกับอดีตคณะกรรมการปฏิรูป ซึ่งมีอดีตนายกฯอานันท์ ปันยารชุนเป็นประธานฯได้เสนอเรื่องการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ
ปาฐกถาในงานสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐ ปีศาลปกครอง เรื่อง “บทบาทของนักกฎหมายและตุลาการในยุคแห่งนิติปรัชญาศตวรรษที่ ๒๐”
19 พฤศจิกายน 2554
 
 
สิ่งที่เราเคยเรียนกันมาเรื่อง “หลักการแบ่งแยกอำนาจ” สมัยมองเตสกิเออ สมัย (โทมัส) ฮอบบ์ สมัย(จอห์น) ล็อค นั้นได้ผ่านพ้นไปกว่า ๒๕๐ ปีมาแล้ว และขณะนี้เป็นระยะแห่งนิติปรัชญาในยุคศตวรรษที่ ๒๐ ; ผมจะไม่อยากจะกล่าว;ถึงชื่อนะครับว่า นักปรัชญาในยุคศตวรรษที่ ๒๐ เหล่านี้ มีใครบ้าง ชื่ออะไร มีทั้งเยอรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แต่ผมอยากจะเอาสิ่งที่เรารู้ ๆ กันอยู่มาพูด คือ เรารู้ว่า ในปัจจุบันนี้ นักกฎหมายของเราถูกเรียกว่า เป็น social engineer คือ วิศวกรสังคม
ทำไม ! นักวิชาการจึงมองต่างมุม
19 พฤศจิกายน 2554
 
 
กระผมได้อ่านบทความของคุณวีรพัฒน์ ปิรยวงศ์ เรื่อง ล้างไม่ล้างรัฐประหาร : ๓ ปุจฉา ถึง ๓๐ อาจารย์ และ เรื่อง “๓ คำเตือนที่คนไทยต้องรู้” ฉบับเต็ม ที่เขียนถึงข้อความคิดของอาจารย์ทั้ง ๗ ท่านที่ใช้ชื่อว่า “คณะนิติราษฎร์”และความเห็นต่างของอาจารย์ทั้ง ๒๓ ท่านนั้นแล้ว ทำให้กระผมในฐานะลูกศิษย์จึงตั้งคำถามว่า “ทำไมนักวิชาการจึงมองต่างมุม” และขออนุญาตเขียนตามที่กระผมเข้าใจ โดยเข้าใจว่า...
การดำเนินการเพื่อปฏิบัติตามคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวของศาลโลกในคดีปราสาทพระวิหาร
19 พฤศจิกายน 2554
 
 
ตามที่กัมพูชาได้ยื่นขอให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ซึ่งต่อไปเรียกว่า “ศาลโลก”) ตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารที่ศาลโลกได้ตัดสินเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2505 และพร้อมกันนี้กัมพูชาได้ยื่นคำร้องเร่งด่วนขอให้ศาลโลกกำหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราว เมื่อวันที่ 28 เม.ย. 2554 ต่อมาในวันที่ 18 ก.ค. 2554 ศาลโลกได้มีคำสั่งต่อคำร้องขอของกัมพูชาให้กำหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราวดังนี้
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544