หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 60 จากทั้งหมด 167 หน้า
51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60
 
   
 
 
“นิติธรรม” ไม่ใช่ “นิติทำ”
31 กรกฎาคม 2554
 
 
คุณยิ่งลักษณ์ต้องยึดมั่นใน “หลักนิติธรรม” หรือ “Rule of Law” ที่พร่ำสัญญาไว้ “หลักนิติธรรม” ต้องเป็นมากกว่าคำสวยหรูที่หยิบมาอ้างจากรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 และต้องเป็นหลักการสูงสุดในการปรองดองและบริหารประเทศ เพื่อมิให้การปรองดองเป็นเพียงการปลอกและดองกติกาไว้ขณะผู้มีอำนาจจัดสรรประโยชน์ระหว่างกัน ผู้เขียนย้ำว่า “หลักนิติธรรม” นั้น มิได้แปลว่าสิ่งใดหากมีกฎหมายบอกไว้อย่างเสมอภาคสิ่งนั้นจะถูกต้องเป็นธรรมเสมอไป กล่าวคือ “นิติธรรม” ไม่ใช่ “นิติทำ” ไม่ใช่ว่ามีกฎหมายเท่าเทียมกันแล้วจะทำอะไรก็ได้
วาระการดำรงตำแหน่งผู้บริหารในสถาบันอุดมศึกษา
31 กรกฎาคม 2554
 
 
หลักการต่ออายุราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตามความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ ทำให้เกิดความเชื่อว่า “ผู้เกษียณอายุราชการไม่สามารถดำรงตำแหน่งผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษา” แต่เมื่อค้นพบความเห็นทางกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาต่อปัญหาทางกฎหมายของมหาวิทยาลัยราชภัฏฯ ตามเรื่องที่เสร็จ ๖๕๙/๒๕๕๐ เรื่องที่เสร็จ ๖๗๗/๒๕๕๐ และเรื่องที่เสร็จ ๑๐๓/๒๕๕๑ เป็นประเด็นเรื่องวาระการดำรงตำแหน่งคณบดี
แนวคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ และคำพิพากษาศาลปกครองชั้นต้น “ไม่ผูกพันตนไม่ผูกพันคู่ความ” กระทบคุณภาพ/ความน่าเชื่อถือหรือไม่
31 กรกฎาคม 2554
 
 
บริษัท ก. ลงนามข้อตกลงร่วมทุนกับบริษัท ข. ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งบริษัท ค. เพื่อเปิดให้บริการบัตรโทรศัพท์แบบชำระเงินล่วงหน้าและชำระเงินภายหลัง โดยบริษัท ก. และ ข. มีกรรมการฝ่ายละ 1 คน ร่วมลงนามทำนิติกรรมแทนบริษัท ค. และ บริษัท ข. ลงนามสัญญาดำเนินการให้บริการบัตรโทรศัพท์กับบริษัท ค. มีระยะเวลา 10 ปี มีข้อตกลงระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ และสัญญาผู้ถือหุ้นระหว่าง บริษัท ก และบริษัท ข. เป็นเอกสารประกอบสัญญาดำเนินการฯ ก่อนพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 มีผลใช้บังคับ
ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับระยะเวลาเรียกให้เจ้าหน้าที่ของรัฐรับชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
31 กรกฎาคม 2554
 
 
การที่หน่วยงานของรัฐจะเรียกให้เจ้าหน้าที่ที่กระทำละเมิดในการปฎิบัติหน้าที่แล้วเกิดความเสียหายต่อหน่วยงานของรัฐ รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน นั้น เป็นที่ทราบกันว่า จะต้องมีการดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 ประกอบกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ซึ่งเมื่อดำเนินการตามกระบวนการดังกล่าวแล้ว หน่วยงานของรัฐมีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้
ปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
31 กรกฎาคม 2554
 
 
เป็นที่ทราบกันดีว่าการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายปกครองได้มีโอกาสทบทวนและเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งทางปกครองตามคำขอของผู้รับคำสั่งทางปกครอง อย่างไรก็ดี มีการอุทธรณ์อยู่กรณีหนึ่งซึ่งไม่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ของ “กระบวนการเยียวยาภายในฝ่ายปกครอง” เพราะเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์แทบไม่มี “อำนาจ” ทบทวนและเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งทางปกครองได้เลย
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544