หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 113 จากทั้งหมด 167 หน้า
111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120
 
   
 
 
ปัญหาการแสวงหาข้อเท็จจริงแห่งคดีในกระบวนวิธีพิจารณาคดีปกครอง โดย คุณณรงค์ฤทธิ์ เพชรฤทธิ์
04 สิงหาคม 2550
 
 
การแสวงหาข้อเท็จจริงแห่งมีความสำคัญมากในวิธีพิจารณาคดีไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีปกครอง การแสวงหาข้อเท็จจริงนั้นเป็นหัวใจหลักที่จะพึงอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ในระบบการแสวงหาข้อเท็จจริงตามกฎหมายวิธีพิจารณาตามหลักสากลที่ยอมรับมีอยู่สองระบบ หคือ ระบบกล่าวหา และระบบไต่สวน แต่ก่อนที่จะพิจารณาว่าระบบไต่สวนหรือระบบกล่าวนั้นเป็นเช่นใดนั้น ความเข้าใจเสียก่อนว่าได้มีนักวิชาการให้คำนิยามระบบกล่าวหาและระบบไต่สวนโดยอาศัยแนวความคิดที่แตกต่างกัน โดยฝ่ายแรก ได้แย่งแยกโดยใช้บทบาทศาลและคู่ความในการพิจารณาหลักเกณ์(1) ฝ่ายที่สองได้แยกโดยใช้องค์กรการพิจารณาดำเนินคดีเป็นแนวในการแบ่งแยก (2) แต่ในการพิจารณาตามบทความนี้ผู้เขียนได้แนวทางของบทบาทหน้าที่ของศาลและคู่ความเป็นข้อพิจารณา เนื่องจากการแสวงหาข้อเท็จจริงของศาลปกครองจะพิจารณาในแง่บทบาทหน้าที่ของศาลเป็นหลัก
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๔)
31 กรกฎาคม 2550
ด้วยเหตุบังเอิญอีกเช่นเดียวกัน คือ ในต้นเดือนกรกฎาคม(พ.ศ. ๒๕๕๐)นี้เอง คือในขณะที่ผุ้เขียนกำลังเขียนบทความบทนี้ ผู้เขียนได้รับเอกสารฉบับหนึ่งจากสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เอกสารฉบับนั้นเป็นคำแปล “คู่มือการตรากฎหมาย (ระดับร่างพระราชบัญญัติ)”ของ( เครือร
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๓)
31 กรกฎาคม 2550
การออกแบบ – design กฎหมาย เป็น “ความเชี่ยวชาญ”ของนักกฎหมายมหาชน แต่ก่อนที่ ผู้เขียนจะพูดถึงการวิเคราะห์ขีดความสามารถของวงการทางกฎหมายของไทยในการยกร่าง(ออกแบบ)รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และก่อนที่ผู้เขียนจะกล่าวว่าประเทศที่พัฒนาแล้วเขาทำอย่างไร กฎหมายของเขาจ
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๒)
31 กรกฎาคม 2550
ส่วนที่ ๑ บทนำ(๑.๑) ความเบื้องต้น : ว่าด้วย “องค์กรยกร่างรัฐธรรมนูญ” ขณะนี้ ผู้เขียนได้เขียนบทความขนาดยาว เรื่อง “กระบวนทัศน์เก่าในรัฐธรรมนูญปัจจุบัน (ค.ศ. ๒๐๐๖)” ซึ่งผู้เขียนจะเขียนเป็นตอน ๆ และยังเขียนไม่จบ โดยตอนที่หนึ่งของบทความนี้
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ ( กรณีศึกษา – case study : “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่” ของสภาร่างรัฐธรรมนูญ ชุดที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๐)) โดย ศ. ดร. อมร จันทรสมบูรณ์
31 กรกฎาคม 2550
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544