หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 121 จากทั้งหมด 167 หน้า
121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130
 
   
 
 
สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค ของประชาชน ได้รับการคุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 จริงหรือ ? โดย คุณภาสพงษ์ เรณุมาศ
01 กุมภาพันธ์ 2550
 
 
ภายหลังที่ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินเป็นผลสำเร็จ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 และได้มีการฉีกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ก่อให้เกิดเสียงเรียกร้องของ
เลือกตั้งนายกรัฐมนตรีโดยตรงกันดีไหม โดย อาจารย์ชำนาญ จันทร์เรือง
19 มกราคม 2550
 
 
ในขณะที่กระแสของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กำลังมาแรง แนวความคิดต่างๆถูกนำเสนอผ่านเวทีสาธารณะมากมาย มีทั้งข้อเสนอที่เป็นวิชาการแท้ๆ และมีทั้งการโยนหินถามทาง อาทิ นายกฯไม่ต้องมาจากการเลือกตั้งบ้าง วุฒิสภามาจากการแต่งตั้งล้วนๆบ้าง ฯลฯ แต่คราวนี้ไม่ปรากฏว่ามีผ
อำนาจตุลาการกับอำนาจอธิปไตยของปวงชน โดย อาจารย์ชำนาญ จันทร์เรือง
03 มกราคม 2550
 
 
องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของความเป็นรัฐคือ อำนาจอธิปไตย (sovereignty) เพราะเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศโดยเป็นอำนาจที่จะบังคับให้ประชาชนภายในรัฐปฏิบัติหรืองดเว้นปฏิบัติ และยังใช้ในการอ้างสิทธิเพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มอำนาจอื่น ๆ เข้ามามีอำนาจเหนือพื้นที่
องค์ประกอบและที่มาของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ : ข้อเสนอสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดย คุณชนินทร์ ติชาวัน
03 มกราคม 2550
 
 
ภายหลังจากการรัฐประหาร โดยคณะปฏิรูปฯ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ที่ผ่านมา ได้มีประกาศฉบับที่ 3 ข้อ 2 ...ให้ศาลรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลงพร้อมกับรัฐธรรมนูญ ต่อมาจึงได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 เมื่อวันที่ 1 ตุลาค
พระราชอำนาจ การลงพระปรมาภิไธย และการสนองพระบรมราชโองการ โดย อาจารย์ปิยบุตร แสงกนกกุล
03 มกราคม 2550
 
 
ระบอบประชาธิปไตยที่มีประมุขของรัฐเป็นกษัตริย์และใช้ระบบรัฐสภา มีหลักการสำคัญประการหนึ่ง คือ “กษัตริย์ไม่ทรงต้องรับผิด” หรือ “The king can do no wrong” ที่ว่า “no wrong” นั้น หมายความว่า “The king” ไม่ทำอะไรเลยจึง “no wrong” กล่าวคือ กษัตริย์เป็นเพียงสัญลั
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544