หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 116 จากทั้งหมด 167 หน้า
111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120
 
   
 
 
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของคณะรัฐมนตรี โดย คุณบุญเสริม นาคสาร
25 พฤษภาคม 2550
 
 
การศึกษาเรื่องการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรสูงสุดของฝ่ายบริหารนั้น หากศึกษาแต่เฉพาะการตรวจสอบการใช้อำนาจของคณะรัฐมนตรีที่เป็นองค์กรกลุ่มเท่านั้นโดยไม่ทำการศึกษาถึงการตรวจสอบการใช้อำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย เป็นการศึก
ข้อคิดเห็นบางประการในการบรรจุพุทธศาสนาไว้ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 โดยนายภาสพงษ์ เรณุมาศ
25 พฤษภาคม 2550
 
 
1. บทนำ ตามที่มีกระแสเรียกร้องจากเหล่าพุทธศาสนิกชน และคณะสงฆ์ โดยการนำของพระเทพวิสุทธิกวี เลขาธิการศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนา ฯ นำทีมคณะสงฆ์ยื่นหนังสือเรียกร้องต่อ สภาร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2550 เพื่อให้สภาร่างรัฐธรรมนูญ เพิ่มเติมข
พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ : มุมมองทางกฎหมายมหาชน โดย คุณศิระณัฐ วิทยาธรรมธัช
25 พฤษภาคม 2550
 
 
การบัญญัติให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติมักเป็นประเด็นเสมอในการร่างรัฐธรรมนูญแต่ละครั้ง เมื่อรัฐธรรมนูญฉบับที่ 16 ถูกยกเลิกไปจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ประเด็นเรื่องพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติก็กลับมาอีกครั้งซึ่งก็ทำให้เกิดข้อถกเถียงหลายป
ปัญหาการให้ศาลตรวจสอบการใช้อำนาจของ กกต. โดย คุณจรูญ ศรีศุขใส
25 พฤษภาคม 2550
 
 
ร่างรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 233 บัญญัติว่า “ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) วินิจฉัยให้มีการเลือกตั้งใหม่หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งก่อนการประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้เสียหายมีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลฎีกา เพื่ออุทธรณ์คำวินิจฉัยของ กกต.ได้ วรรค
ขอให้ประชาชนไทยได้เป็นคนเลือก ‘ส.ว.’ โดย คุณณัฐกร วิทิตานนท์
25 พฤษภาคม 2550
 
 
ว่ากันว่าตามรัฐธรรมนูญฉบับปี 40 แล้วนั้น วุฒิสภา ถือเป็นสถาบันการเมืองที่มีความสำคัญสุดยอด กล่าวคือ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มี ส.ว. จำนวน 200 คน มีที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ประชาชนผู้ที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งจะเลือกผู้สมัครได้ 1 ค
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544