หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 117 จากทั้งหมด 167 หน้า
111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120
 
   
 
 
ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ โดยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์
13 พฤษภาคม 2550
 
 
๑. ประชาธิปไตยเบื้องต้น ๑.๑ ท่านทั้งหลายส่วนมากย่อมสังเกตได้ว่าในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์นั้น มนุษย์ได้ใช้สัญญาณที่แสดงออกโดยท่าทาง กริยา อิริยาบถ และอาการต่าง ๆ นอกจากภาษาพูดและภาษาเขียนซึ่งมีผู้ประดิษฐ์ขึ้นในโลกประมาณ ๕,๐๐๐ ปี มานี้เอง
“ประชาธิปไตย” เบื้องต้นสำหรับสามัญชน โดย ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์
13 พฤษภาคม 2550
 
 
คำว่า “ประชาธิปไตย” จึงหมายถึง “ความเป็นใหญ่ของปวงชน” ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของคำว่า “ประชาธิปไตย” ไว้ในหนังสือพจนานุกรมของทางราชการว่า “แบบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่”
ช่องโหว่ รอยขาด และจุดด่างบนร่างรัฐธรรมนูญ 2550 โดย รองศาสตราจารย์ สมชัย ศรีสุทธิยากร
09 พฤษภาคม 2550
 
 
“หากร่างรัฐธรรมนูญ 2550 เป็นผ้าผืน ผ้าผืนนี้คงเป็นผ้าไทยที่ทอละเอียด ลวดลายงามวิจิตร ผ่านการทอโดยช่างฝีมือดี แต่กลับมีช่องโหว่ รอยขาด และจุดด่างรอยเปื้อน ซึ่งหากให้คนไทยพิจารณา คงไม่อาจตัดใจซื้อได้” เหมือนเด็กที่รอคอยของฝากที่พ่อแม่ไปต่างจั
ตุลาการมิใช่ผู้วิเศษ โดย คุณชำนาญ จันทร์เรือง
09 พฤษภาคม 2550
 
 
ผมเชื่อว่าระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งผู้พิพากษาตุลาการน่าจะมีความบริสุทธิ์ยุติธรรมมากกว่าหน่วยงานอื่น ผมเชื่อว่าผู้พิพากษาตุลาการน่าจะมีระบบการควบคุมจริยธรรมและคุณธรรมที่เข้มข้นมากกว่าวงการอื่น ผมเชื่อว่าผู้พิพากษาตุลาการน่าจะมีความรู้ความเชี่ยวในต
ข้อเสนอ หลักในการรับรัฐธรรมนูญ ฉบับ สสร. 2 หัวข้อ ความเป็นอิสระของผู้พิพากษา โดย คุณสมศักดิ์ พิทักษ์มงคลกุล
27 เมษายน 2550
 
 
ผู้พิพากษามีอิสระในการพิจารณาพิพากษาคดีให้เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย นั่นเป็นหลักการอันสำคัญเพื่อสร้างความยุติธรรมให้เกิดกับประชาชน เพราะผู้พิพากษาเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ หนึ่งในอำนาจอธิปไตย ถ้าผู้พิพากษาไม่มีอิสระ ถูกแทรกแซงหรือมีแรงจากภายนอกมาโน้มน้าว ก็
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544