หน้าแรก คำบรรยายกฎหมายปกครอง
16 เรื่อง หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 4 หน้า
1 | 2 | 3 | 4
 
   
 
 
ครั้งที่ 9 เครื่องมือในการดำเนินงานของฝ่ายปกครอง
02 สิงหาคม 2551
 
 
เพื่อที่จะให้การดำเนินกิจกรรมของตนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย การจัดทำกิจกรรมของฝ่ายปกครองจะต้องทำโดย “เครื่องมือทางกฎหมาย” และ “การปฏิบัติการ” เครื่องมือทางกฎหมายนั้นใช้สำหรับการก่อตั้งกิจกรรมของ ฝ่ายปกครอง การกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ และวิธีการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองส่วนการปฏิบัติการของฝ่ายปกครองนั้นก็จะต้องเป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน “เครื่องมือทางกฎหมาย” รวมทั้งฝ่ายปกครองเองก็สามารถที่จะกำหนดมาตรการทางกฎหมายต่างๆขึ้นมาเพื่อให้การปฏิบัติการของตนได้ผลสำเร็จ “เครื่องมือทางกฎหมาย” ที่สำคัญมีอยู่สองประเภทคือ
ครั้งที่ 8 การดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครอง (หน้าที่ 2)
02 สิงหาคม 2551
ริการสาธารณะที่ดีนั้นจะต้องสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมกับเหตุการณ์และความจำเป็นในทางปกครองที่จะรักษาประโยชน์สาธารณะ รวมทั้งเพื่อปรับปรุงให้เข้ากับวิวัฒนาการของความต้องการส่วนรวมของประชาชนด้วย
ครั้งที่ 8 การดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครอง (หน้าที่1)
02 สิงหาคม 2551
กิจกรรมที่สำคัญของฝ่ายปกครองมีอยู่สองประเภท ประเภทแรก ได้แก่ตำรวจทางปกครองและประเภทที่สองได้แก่บริการสาธารณะ ในการดำเนินกิจการทั้งสองประเภทนี้ ฝ่ายปกครองมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องมือทางกฎหมายที่สำคัญสองประการเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมของตนลุล่าวงไปได้อย่างดี เครื่องมือทางกฎหมายที่สำคัญสองประการได้แก่นิติกรรมฝ่ายเดียว(acte unilatéral) และนิติกรรมหลายฝ่าย (acte plurilaéral)หรือที่เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่าสัญญา (contrat) นั่นเอง
ครั้งที่ 7 รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ
16 กรกฎาคม 2551
 
 
นอกเหนือจากการแบ่งโครงสร้างภายในของรัฐออกเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และราชการบริหารส่วนท้องถิ่นแล้ว ในประเทศไทยยังมีการตั้ง “หน่วยงานเฉพาะด้าน” ขึ้นมาเพื่อมีส่วนร่วมกับรัฐในการดำเนินการจัดทำภารกิจต่างของรัฐ หน่วยงานเฉพาะด้านดังกล่าวได้แก่ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยงบริการรูปแบบพิเศษ
ครั้งที่ 6 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (4) : การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
10 กรกฎาคม 2551
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้วางหลังเกณฑ์สำหรับใช้ในการปกครองส่วนท้องถิ่นโดยมีสาระสำคัญเป็นการกระจายอำนาจเพื่อให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองได้และมีอิสระในการดำเนินงาน บทบัญญัติที่ถือว่าเป็น “หลักสำคัญ” ในการกระจายอำนาจ คือ มาตรา ๗๘ ซึ่งปรากฏอยู่ในหมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ โดยมีใจความสำคัญ คือ
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544