หน้าแรก คำบรรยายกฎหมายปกครอง
16 เรื่อง หน้าที่ 1 จากทั้งหมด 4 หน้า
1 | 2 | 3 | 4
 
   
 
 
ครั้งที่ 13 กฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
15 กันยายน 2551
 
 
การควบคุมฝ่ายปกครองนอกจากจะทำได้โดยองค์กรภายในฝ่ายปกครองดังที่ได้กล่าวไปแล้ว องค์กรตุลาการเองก็อาจเข้ามามีบทบาทในการควบคุมฝ่ายปกครองได้ มีเหตุผลที่สนับสนุนว่าระบบการควบคุมฝ่ายปกครองโดยองค์กรตุลาการสามารถเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนได้ดีกว่าระบบการควบคุมฝ่ายปกครองโดยองค์กรทางการเมืองหรือองค์กรภายในฝ่ายปกครอง
ครั้งที่ 12 กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
14 กันยายน 2551
กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เป็นกฎหมายที่วางหลักเกณฑ์ทั่วไปในการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการออกคำสั่งทางปกครองต่าง ๆ ว่าจะต้องเตรียมการและดำเนินการอย่างไรเพื่อให้เจ้า
ครั้งที่ 11 กฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ
07 กันยายน 2551
 
 
สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมาเป็นเวลานานแล้ว การให้ประชาชนมีสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ
ครั้งที่ 10 การควบคุมฝ่ายปกครอง
05 กันยายน 2551
 
 
ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในส่วนที่ศึกษาไปก่อนหน้านี้ว่า ฝ่ายปกครองซึ่งมี “อำนาจรัฐ” อยู่ในมือและเป็นองค์กรหลักในการจัดทำบริการสาธารณะอาจใช้อำนาจของตนไปกกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไม่ว่าโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม
ครั้งที่ 6 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (3) : วิวัฒนาการของการปกครองส่วนท้องถิ่น : ๑๐๐ ปีแห่งการรอคอย
25 สิงหาคม 2551
ก่อนที่จะมีการปฏิรูประบบการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดินเข้าสู่ระบบการกระจายอำนาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นนั้น ประเทศไทยได้มีวิวัฒนาการระบบการปกครองมาเป็นลำดับ โดยสมัยก่อนกรุงสุโขทัยมีหลักฐานอ้างอิงจากพงศาวดารว่า การปกครองของไทยแต่เดิมมีลักษณะการรวมกลุ่มเป็นหมู่เหล่าหรือชุมชน มีหัวหน้าเป็นผู้ปกครองดูแลรับผิดชอบให้ความคุ้มครองป้องกันภยันตรายแก่ผู้อยู่ใต้ปกครอง เป็นการปกครองแบบหัวหน้าปกครองลูกน้อง (master and slave) และเมื่อมีพลเมืองเพิ่มมากขึ้น ในสมัยน่านเจ้าได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็นส่วนกลางและส่วนภูมิภาค การปกครองในส่วนกลางมีการกำหนดผู้ปกครอง ผู้บังคับบัญชาตามลำดับ ส่วนการปกครองในส่วนภูมิภาคมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นมณฑล แต่ละมณฑลมีเมืองเอก โท ตรี จัตวา แต่ละเมืองแบ่งเป็นแขวง แต่ละแขวงแบ่งเป็นแคว้น และแต่ละแคว้นแบ่งเป็นหมู่บ้าน โดยแต่ละหน่วยการปกครองจะมีหัวหน้าปกครองลดหลั่นกันไป
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544