หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 73 จากทั้งหมด 167 หน้า
71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
 
   
 
 
ศาลสิ่งแวดล้อมเปรียบเทียบ: ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อมในประเทศอังกฤษ
10 ตุลาคม 2553
 
 
หลายประเทศในโลกได้ตระหนักถึงการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสิทธิของประชาชนที่พึ่งจะได้รับการเยียวยาความเสียหายจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยประเทศต่างๆ ได้มีการพัฒนากระบวนการยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ประชาชนที่ถูกกระทบสิทธิได้รับการเยียวยาและบรรเทาความเสียหายจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ในหลายประเทศได้มีการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม (Environmental Court) อันถือเป็นศาลชำนัญพิเศษ (Specialist environmental courts) เพื่อเป็นการสร้างความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยบทบาทและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาของศาลสิ่งแวดล้อม (The function of judicial decision-making by a court) สำหรับประเทศที่มีการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อมแล้ว
เป็นที่สุด กับ ถึงที่สุด ของศาลปกครอง
10 ตุลาคม 2553
 
 
โดยปกติคำพากษาหรือคำสั่งของศาลย่อมจะถูกตรวจสอบทบทวนได้ ยกเว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดห้ามไว้ ในบทความนี้จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเงื่อนไขของการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครอง ซึ่งผู้เขียนได้ตรวจสอบคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ประกอบกับกฎหมายของศาลปกครอง ในส่วนที่เกี่ยวกับการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่ง ซึ่งการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้น ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ได้กำหนดไว้ใน
ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ(Deliberative Democracy) คือทางออกประเทศไทย
10 ตุลาคม 2553
 
 
หนึ่งในแนวความคิดของอาจารย์สมเกียรติ ตั้งนโม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนผู้ล่วงลับเน้นย้ำอยู่เสมอเมื่อมีโอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนแนวความคิดกับผม คือ แนวความคิดเรื่องประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ(Deliberative Democracy) เพราะพวกเราชาวมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนเห็นว่าปัญหาของประชาธิปไตยแบบตัวแทน(Representative Democracy)ในปัจจุบันคือการมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเพียงเฉพาะการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเท่านั้น
บทบาทของนักกฎหมายไทยต่อการรัฐประหาร และการจัดการกับคณะรัฐประหารแบบตุรกี
26 กันยายน 2553
 
 
รัฐประหารครั้งล่าสุดของประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 นั่นคือเมื่อ 4 ปีที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งที่ทำให้ผู้เขียนในฐานะนักเรียนกฎหมายที่พอจะได้ติดตามข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการรัฐประหารดังกล่าวอยู่บ้างเกิดความฉงนและจับต้นชนปลายไม่ถูกคือ
รู้ทันนิรโทษกรรม
26 กันยายน 2553
 
 
หากเรายังจำกันได้เมื่อครั้งจบเหตุการณ์ ๖ ตุลา ๑๙ แล้ว ผู้นำนักศึกษาและประชาชนบางคนถูกตั้งข้อหาในคดีที่เรียกกันว่า “คดี ๖ ตุลา” โดยนายสุธรรม แสงประทุม กับพวกรวมทั้งหมด ๑๘ คน ถูกตั้งข้อหาว่าก่อกบฏ ก่อจลาจล ต่อสู้และพยายามฆ่าเจ้าหน้าที่รัฐ
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544