หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 77 จากทั้งหมด 167 หน้า
71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
 
   
 
 
หลักกฎหมายเยอรมันเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง (ตอนที่ 1)
17 กรกฎาคม 2553
 
 
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง แม้มิใช่เรื่องใหม่ในกฎหมายไทย แต่ในระยะ 4 – 5 ปีนี้มีหลายคดีบ่งชี้ว่า ความรู้ความเข้าใจของบรรดานักกฎหมายไทย ตั้งแต่ต้นน้ำคือผู้บัญญัติกฎหมาย จนถึงปลายน้ำคือผู้วินิจฉัยชี้ขาด ยังแตกต่างไปจากหลักกฎหมายของประเทศประชาธิปไตยต้นแบบและหลักกฎหมายที่ยอมรับในระดับสากล แต่ทั้งนี้ ไม่แน่ว่า ของฝรั่งมังค่าจะถูกต้องเสมอไป
เปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของชาติ: พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 พ.ร.ก.การบริการราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551
16 กรกฎาคม 2553
 
 
ภาระหน้าที่สำคัญที่สุดของรัฐ คือ การรักษาความสงบภายในและการป้องกันภัยจากภายนอก ภาระหน้าที่การรักษาความสงบได้ส่งผลให้รัฐต้องมีโครงสร้าง มีองค์กรที่ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อการรักษาความสงบโดยเฉพาะ อันได้แก่ องค์กรฝ่ายปกครอง องค์กรตำรวจและองค์กรทหารโดยมีรัฐบาลซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจสูงสุดของฝ่ายบริหารเป็นผู้บังคับบัญชา
บทบาทของสถาบันศาลรัฐธรรมนูญกับตุลาการภิวัฒน์
04 กรกฎาคม 2553
 
 
“พระราชดำรัส 25 เมษายน ต่อศาล ซึ่งถือเป็นพระราชวิสัยทัศน์สำคัญที่สุดครั้งหนึ่งในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน เพราะทรงเปิดทางให้เกิดตุลาการภิวัฒน์ซึ่งเป็นพัฒนาการที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของระบบการเมืองการปกครองของโลกปัจจุบัน... ตุลาการภิวัฒน์เกิดเพื่อแก้ปัญหาลัทธิถือเลือกตั้งเป็นใหญ่ และเสริมประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันเกือบทุกประเทศทั่วโลกแม้กระทั่งอังกฤษ ก็ได้หันมาใช้ตุลาการภิวัฒน์ (Judicial review) กันมากขึ้น ด้วยเหตุผลหลายประการ...”
ทำไมมันถึงเรียกว่าสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
04 กรกฎาคม 2553
 
 
บทความนี้มุ่งตั้งคำถามพื้นฐาน ที่สุดสำหรับนักกฎหมาย และอธิบายความให้ประชาชนทั่วไปเข้าใจ ทำไม สิทธิเสรีภาพ ในรัฐธรรมนูญจึงมีทั้งสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน และสิทธิเสรีภาพอื่นๆ
บทบาทของสถาบันศาลรัฐธรรมนูญกับตุลาการภิวัฒน์
23 พฤษภาคม 2553
 
 
“พระราชดำรัส 25 เมษายน ต่อศาล ซึ่งถือเป็นพระราชวิสัยทัศน์สำคัญที่สุดครั้งหนึ่งในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน เพราะทรงเปิดทางให้เกิดตุลาการภิวัฒน์ซึ่งเป็นพัฒนาการที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของระบบการเมืองการปกครองของโลกปัจจุบัน... ตุลาการภิวัฒน์เกิดเพื่อแก้ปัญหาลัทธิถือเลือกตั้งเป็นใหญ่ และเสริมประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันเกือบทุกประเทศทั่วโลกแม้กระทั่งอังกฤษ ก็ได้หันมาใช้ตุลาการภิวัฒน์ (Judicial review) กันมากขึ้น ด้วยเหตุผลหลายประการ...”
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544