หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 78 จากทั้งหมด 167 หน้า
71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
 
   
 
 
สภาวะสูญญากาศของการบังคับใช้กฎหมายในยุคเปลี่ยนผ่านทางการเมือง
23 พฤษภาคม 2553
 
 
หลังเหตุการณ์วันที่ 10 เมษายน เป็นต้นมา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศอย่างชัดเจนถึงหลักการที่ว่า “จะต้องบังคับกฎหมายอย่างเคร่งครัด” กับการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง นอกจากนี้ ยังมีการเน้นย้ำอยู่เสมอว่า ทุกอย่างต้องกระทำไปตาม “หลักนิติรัฐ” ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของอดีตนายกฯ อย่างคุณชวน หลีกภัย และบุคคลอื่นๆ ของรัฐบาล
สหประชาชาติมีอำนาจมากน้อยแค่ไหนในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในไทย
23 พฤษภาคม 2553
 
 
ข้อถกเถียงถึงการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลในการเข้าขอพื้นที่คืนบริเวณผ่านฟ้าและราชประสงค์ว่าจะสามารถถูกตรวจสอบจากองค์กรนอกรัฐไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์การสหประชาชาติว่าจะสามารถทำได้มากน้อยแค่ไหนเพียงใด บ้างก็ว่าทำไม่ได้หากรัฐบาลเจ้าของประเทศไม่อนุญาต บ้างก็ว่าเข้ามาได้เลยหากคณะมนตรีความมั่นคงอนุมัติโดยไม่มีสมาชิกถาวรในห้าประเทศวีโต บ้างก็ว่าประเทศนั้นต้องอยู่ในสภาพรัฐล้มเหลว(failed state)เสียก่อนจึงจะเข้ามาได้
ผู้ต้องหาก่อการร้ายมุ่งล้มสถาบันกับผู้ต้องหาศาลอาญาระหว่างประเทศ
06 พฤษภาคม 2553
 
 
การต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มเสื้อแดงและรัฐบาลซึ่งเป็นการต่อสู้ครั้งใหญ่ที่สุดนับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เป็นต้นมายังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงในลักษณะใด แต่ที่แน่ๆก็คือฝ่ายที่ พ่ายแพ้ย่อมมีคดีติดตัวกันระนาวิ หากฝ่ายเสื้อแดงพ่ายแพ้แน่นอนว่าข้อหาที่พวกเขาจะได้รับย่อมไม่พ้นคดีที่เกี่ยวเนื่องกับการก่อการร้ายและการมุ่งล้มสถาบันตามที่ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ ศอฉ.ตั้งข้อหาไว้
แด่ปัญญาชน โดยเฉพาะนักกฎหมาย ใน “อภิมหาพรรณนา”(Meta - narrative) กรณีศึกษาจาก “สถานการณ์ฉุกเฉิน”
06 พฤษภาคม 2553
 
 
เมื่อเอ่ยถึง “ความมั่นคง”เมื่อใด ก็ย่อมสะท้อนถึงความรวนเรของสิ่งที่ไม่อยากเพรียกหาในคู่ตรงข้ามของมันเอง นั่นคือ การพยายามต่อสู้ “ความไม่มั่นคง” ภายในตัวของมันเองอยู่ทุกขณะ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ(ฉบับปัจจุบัน) เพื่อ “การปฏิรูปประเทศ”
25 เมษายน 2553
 
 
ในระยะหลังนี้ นอกเหนือไปจากคำว่า “การปฏิรูปการเมือง”แล้ว ได้มีคำว่า “การปฏิรูปประเทศไทย” ปรากฎอยู่ในสื่อมวลชนหลายฉบับ ; คำว่า “การปฏิรูปประเทศ” เป็นคำที่มีความหมายกว้างและ มีขอบเขตมากกว่า คำว่า “การปฏิรูปการเมือง” ; แต่อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถ “ปฏิรูปประเทศ” ได้ โดยไม่มี “การปฏิรูปการเมือง” เพราะการเมืองเป็นระบบการบริหารประเทศ ที่มีสถาบันการเมืองเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจสูงสุดในการบริหารประเทศ
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544