หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 6 จากทั้งหมด 167 หน้า
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10
 
   
 
 
บทวิเคราะห์คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.1728/2559 เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐออกคำสั่งโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและสัญญาทางปกครอง : กรณีขออนุญาตใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) ติดตั้งกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า
01 เมษายน 2561
 
 
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หมายถึงการปรับปรุงสภาพการถือครองที่ดิน สถาบันทางการเกษตร สถาบันสนับสนุนการบริการทางการเกษตรและสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชนบท โดยมีภาระกิจการจัดขนาดการถือครองที่ดินให้เพียงพอแก่การครองชีพ การปรับปรุงระบบการเช่าที่ดินมิให้มีการเอารัดเอาเปรียบกันจนเกินไป และให้ความมั่นคงในการถือครองที่ดินตลอดจนการจัดรูปที่ดินให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่และเกษตรกรรม ปรับปรุงการใช้แรงงานในการเกษตรและส่งเสริมองค์ความรู้ทางการเกษตรแผนใหม่ การจัดระบบภาษีที่ดิน
เงื่อนไขความชอบด้วยกฎหมายในการออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.4-01)
18 มีนาคม 2561
 
 
หนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินหรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า ส.ป.ก.4-01 เป็นสิทธิในที่ดินประเภทหนึ่งซึ่งออกโดยเจ้าหน้าที่ผู้ทรงอำนาจโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายเรียกหนังสืออนุญาตประเภทนี้ว่า “คำสั่งทางปกครอง” ซึ่งเป็นการกระทำทางปกครองประเภทหนึ่งและตกอยู่ภายใต้หลักกฎหมายปกครองที่เรียกว่า “การกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย” จึงสมควรที่จะต้องทำการศึกษาวิเคราะห์แยกแยะว่า การออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินดังกล่าวประกอบด้วยเงื่อนไขความชอบด้วยกฎหมายประการใดบ้างที่จะต้องพิจารณา
การกระจายอำนาจคืออนาคตของประเทศไทย
18 มีนาคม 2561
 
 
อันที่จริงแล้วกระแสการขับเคลื่อนของการกระจายอำนาจของไทยมีมาโดยตลอดตั้งแต่อดีต การขับเคลื่อนเพื่อการกระจายอำนาจที่เห็นเป็นรูปธรรมนับตั้งแต่30-40 กว่าปีก่อนที่คุณไกรสร ตันติพงศ์อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้เสนอแนวความคิดที่จะให้เชียงใหม่มีกฎหมายเป็นของตนเอง แต่พอคุณไกรสรได้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและอุตสาหกรรมความคิดดังกล่าวก็เลือนหายไป ตามมาด้วยคุณถวิล ไพรสณฑ์ อดีตสส.พรรคประชาธิปัตย์และอาจารย์ธเนศวร์ เจริญเมืองก็ออกมารณรงค์ให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่ก็ถูกต่อต้านอย่างรุนแรง
กฎหมายคืออะไรกันแน่
04 มีนาคม 2561
 
 
ข้อถกเถียงในยุครัฐบาลทหารที่ใช้มาตรา ๔๔ ออกประกาศและคำสั่ง คสช.มาใช้บังคับอย่างมากมาย พร้อมกับการสำทับว่าทุกคนต้องปฏิบัติตาม หากไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษทัณฑ์ตามหลักกฎหมายดั้งเดิมที่เล่าเรียนกันมาในอดีต อีกทั้งยังเคยมีคำพิพากษาฎีกาออกมายืนยันมากว่าครึ่งศตวรรษแล้วว่าเมื่อคณะรัฐประหารยึดอำนาจสำเร็จย่อมเป็นรัฏฐาธิปัตย์
สภาพลเมืองเชียงใหม่ : ประชาธิปไตยที่ปฏิบัติได้
18 กุมภาพันธ์ 2561
 
 
สภาพลเมือง (Civil Juries หรือ Citizen Juries) เป็นรูปแบบที่ใช้ในสหรัฐอเมริกามาตั้งแต่ทศวรรษ 70s โดยมีการคัดเลือกลูกขุนมาจำนวนหนึ่งเพื่อทำหน้าที่พิจารณากิจกรรมต่างๆ ซึ่งอาจจะใช้ระยะเวลามากน้อยแล้วแต่ภารกิจ โดยสภาพลเมืองนี้จะเป็นตัวแทนของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ (Interest Groups) โดยคณะลูกขุน (ซึ่งของไทยเราผมใช้คำว่า “สภาพลเมือง” แทนเพื่อมิให้สับสนกับคำว่าลูกขุนในระบบศาล)
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544