หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 40 จากทั้งหมด 167 หน้า
31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40
 
   
 
 
นโยบายองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสถานะของพนักงานมหาวิทยาลัยสายผู้สอน
12 สิงหาคม 2555
 
 
การวางหลักเกณฑ์ในเรื่องของความมั่นคงทางอาชีพของพนักงานมหาวิทยาลัยทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐหรือมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ย่อมมีความจำเป็นอย่างยิ่งในปัจจุบัน เพราะพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนถือเป็นผู้ผลักดันให้กิจกรรมบริการสาธารณะด้านการศึกษาในระดับอุดมศึกษาสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเป็นปกติ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องควรผลักดันแนวทางและวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความมั่นคงทางวิชาการและการกำหนดหลักการบริหารงานบุคคลภายในมหาวิทยาลัยของรัฐหรือมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยแนวทางและหลักเกณฑ์ดังกล่าวย่อมเสริมสร้างสร้างระบบธรรมาภิบาลในการบริหารงานบุคคลและสนับสนุนให้การบริหารสาธาณะด้านการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือในกำกับของรัฐดำเนินไปได้ด้วยดี
มองการจัดการแข่งขันการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2012 ผ่านกฎหมาย London Olympic Games and Paralympic Games Act 2006
29 กรกฎาคม 2555
 
 
การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นมหกรรมการแข่งขันกีฬายิ่งใหญ่ ที่จัดขึ้นประจำทุกๆ 4 ปี โดยการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกนอกจากจะเป็นการเสริมสร้างมิตรภาพระหว่างประเทศผ่านการแข่งขันกีฬาระหว่างนักกีฬาแต่ละชนิดกีฬาที่เป็นตัวแทนของชาติต่างๆ แล้ว การแข่งขันกีฬาดังกล่าวยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักเกี่ยวกับความสำคัญของการออกกำลังกายและประโยชน์ของการประกอบกิจกรรมกีฬาหรือนันทนาการประเภทต่างๆ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญอันนำไปสู่คดีขอให้ยุบพรรคการเมืองในตุรกี
29 กรกฎาคม 2555
 
 
ตามที่ศาลรัฐธรรมนูญของประเทศไทยมีคำวินิจฉัยที่ 18-22/2555 ลงวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา กรณีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยการยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับเป็นการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญหรือไม่
แก้รัฐธรรมนูญ : ทางสองแพร่งที่รัฐบาลต้องเลือก
29 กรกฎาคม 2555
 
 
ไม่ว่าคำวินิจฉัยกลางของศาลรัฐธรรมนูญในกรณีการยกคำร้องตามมาตรา ๖๘ ที่ออกมาในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ จะออกมาเป็นเช่นไร แต่ผมคิดว่าคงเปลี่ยนแปลงจากคำแถลงข่าวในวันที่ ๑๓ กรกฎาคมที่ผ่านมาไม่มากนัก เพราะตามรัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้แล้วว่าคำวินิจฉัยกลางต้องและคำวินิจฉัยส่วนตนต้องทำให้เสร็จก่อนการอ่านคำวินิฉัยในวันที่ลงมติ การแก้ไขจะทำได้ก็เพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น เช่น กับ แก่ แต่ ต่อ ตัวสะกด การันต์ ฯลฯ
ผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเยอรมัน
29 กรกฎาคม 2555
 
 
จากการที่ศาลรัฐธรรมนูญได้ออกนั่งอ่านคำวินิจฉัยในคดีตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๘ เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา ได้ก่อให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในสังคม ทั้งในแวดวงการเมืองและแวดวงวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในประเด็นที่ ๒ ว่า
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544