[1] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2555.
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2542 เรื่อง ผลการดำเนินการของคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐ (คปร.) เกี่ยวกับอัตราที่ยุบเลิกจากผลการเกษียณอายุปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่รองนายกรัฐมนตรี. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.cau.ku.ac.th/01_intro/resolution/2542_10_12.htm
[2] อัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมาทดแทนอัตราข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย สาย ก.
[3] อัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนมาทดแทนอัตราข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย สาย ข. และสาย ค.
[4] คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 256/2554 ได้อ้างคำวินิจฉัยของศาลปกครองชั้นต้นในคดีนี้ว่า "สัญญาว่าจ้างผู้ฟ้องคดี (พนักงานมหาวิทยาลัย ก.) ทำงานเป็นพนักงานประจำ/ชั่วคราวของมหาวิทยาลัยในตำแหน่งนักประชาสัมพันธ์มีกำหนด 1 ปี 5 เดือน 14 วัน นับแต่วันที่ 17 เมษายน 2551 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 ถือว่ามีลักษณะเป็นสัญญาที่ให้ผู้ฟ้องคดีจัดทำบริการสาธารณะ จึงเป็นสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
[5] ในบางกรณีศาลปกครองไม่อาจก้าวล่วงไปตรวจสอบกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยได้ เพราะกระบวนการในการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยอาจถือเป็นเพียงแค่ขั้นตอนภายในของคณะกรรมการประเมินภายในเพื่อเสนอผลการพิจารณาต่อผู้บังคับบัญชาต่อไปเท่านั้น กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานดังกล่าวหากไม่มีผลกระทบต่อพนักงานมหาวิทยาลัยอันจะมีสถานะเป็นคำสั่งทางปกครองแล้วและเป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งในการดำเนินงานหรือกิจกรรมเป็นการภายในของฝ่ายปกครอง ก็ไม่สามารถฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครองได้ โปรดดู สำนักงานพัฒนาระบบงานคดีปกครอง. 2551.
คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง. (กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาระบบงานคดีปกครอง), หน้า 5. และโปรดดูเพิ่มเติมในตำราของ ศาสตราจารย์ ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์ ใน นันทวัฒน บรมานันท์. 2546.
สัญญาทางปกครอง. (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญญูชน), หน้า 416 - 417.
[6] United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. 2012.
Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://portal.unesco.org/en/ev.php-URL_ID=13144&URL_DO=DO_TOPIC&URL_SECTION=201.html
[7] International Academic Freedom Workshops. 2010.
UN Mechanisms. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จากhttp://www.academicfreedom.info/workshops/c_actions_UN.html
[8] International Labour Organisation. 2011.
Joint ILO/UNESCO Committee of Experts on the Application of the Recommendations concerning Teaching Personnel (CEART). [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.ilo.org/global/industries-and-sectors/education/WCMS_162256/lang--en/index.htm
[9] International Labour Organisation. 2012.
C102 - Social Security (Minimum Standards) Convention, 1952 (No. 102) Convention concerning Minimum Standards of Social Security (Entry into force: 27 Apr 1955). [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.ilo.org/dyn/normlex/en/f?p=1000:12100:0::NO::P12100_INSTRUMENT_ID:312247
[10] Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. 2007.
Convention against Discrimination in Education. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www2.ohchr.org/english/law/education.htm
[11] International Labour Organisation. 2012. C156 -
Workers with Family Responsibilities Convention, 1981 (No. 156) Convention concerning Equal Opportunities and Equal Treatment for Men and Women Workers: Workers withFamily Responsibilities (Entry into force: 11 Aug 1983). [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.ilo.org/dyn/normlex/en/f?p=1000:12100:0::NO::P12100_INSTRUMENT_ID:312301
[12] World Health Organization. 2006.
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.who.int/hhr/Economic_social_cultural.pdf
[13] Dignity in Schools Campaign. 2012.
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (ICESCR), Article 13. [Online]. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม, 2555 , จาก http://www.dignityinschools.org/content/international-covenant-economic-social-and-cultural-rights-icescr-article-13
[14] International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (ICESCR) Article 13 (c) Higher education shall be made equally accessible to all, on the basis of capacity, by every appropriate means, and in particular by the progressive introduction of free education.
[15] โปรดดูเพิ่มเติมใน อนุสัญญาองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการเลือกปฏิบัติในการศึกษา ค.ศ. 1960 (UNESCO Convention against Discrimination in Education 1960) ข้อแนะนำองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสถานะของครู (Recommendation concerning the Status of Teachers 1966) และ ข้อแนะนำองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสถานะของนักวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์ UNESCO Recommendation on the Status of Scientific Researchers (1974) และกฎหมายแรงงานระหว่างประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
[16] ศาสตราจารย์ James L. Turk ประธานบริหารสมาคมคณาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งแคนาดา ได้อธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับวิวัฒนาการของมหาวิทยาลัย ความท้าทายของมหาวิทยาลัยในแคนาดาด้านธรรมาภิบาลและเสรีภาพทางวิชาการ กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ธรรมนูญปัจจุบันใน James L. Turk. 2005.
Protecting the First Nations University of Canada: The Importance of Academic Freedom and Collegial Governance. (Regina: University of Regina), pages 1-10.
[17] โปรดดูคำบรรยายหลักการที่สำคัญของข้อแนะนำฉบับนี้เพิ่มเติมใน United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization and International Labour Organization. 2008.
The ILO/UNESCO Recommendation concerning the Status of Teachers (1966) and The UNESCO Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel (1997). (Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization), pages 10-13.
[18] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 III. (Guiding principles) 6
[19] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 V. (Institutional rights, duties and responsibilities) A. (Institutional autonomy) 17
[20] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 V. (Institutional rights, duties and responsibilities) A. (Institutional autonomy) 29
[21] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 IX. (Terms and conditions of employment) A. (Entry into the academic profession) 43 (a)
[22] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 IX. (Terms and conditions of employment) B. (Security of employment) 46
[23] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 IX. (Terms and conditions of employment) 47
[24] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 IX. (Terms and conditions of employment) E. (Negotiation of terms and conditions of employment) 52
[25] Recommendation concerning the Status of Higher-Education Teaching Personnel 1997 IX. (Terms and conditions of employment) H. (Terms and conditions of employment of women higher-education teaching personnel) 72
[26] Page, James S. 2007. Australian Universities and International Standards: Compliance with the 1997 UNESCO Recommendation Concerning the Status of Higher Education Teaching Personnel.
Journal of Higher Education Policy and Management, 29 (1), Pages 95-101.