[1] Dekoster, J. & Schollaert, U. (1999).
Cycling: the way ahead for towns and cities. Brussels: European Commission, p 5.
[3] Pucher, J. & Buehler, R. (2007).
At the Frontiers of Cycling: Policy Innovations in the Netherlands, Denmark, and Germany. New Jersey: Bloustein School of Planning and Public Policy, p. 2.
[5] University of Central Lancashire & Breda University. (2009).
The European Cycle Route Network EUROVELO: Challenges and Opportunities for Sustainable Tourism. Brussels: European Parliament, p 16.
[6] โปรดดูความก้าวหน้าและการตอบสนองของประเทศต่างๆ ต่อแนวคิดของการสร้างทางจักรยานที่มีลักษณะเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงถึงกันภายใต้โครงการ EuroVelo routes
และตัวอย่างของกิจกรรมของประเทศต่างๆ ที่ได้จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนโครงการ EuroVelo routes ช่วงระหว่าง ค.ศ. 2003-2004 ได้ใน หน้า 6 ของเอกสาร Larsen, E. J. (2004).
Route report EuroVelo Route 7 Middle Europe Route or The Sun Route. Frederikberg: EuroVelo & Foreningen Frie Fugle, Retrieved April 29, 2013, from
http://www.friefugle.dk/Eurovelo_rute_7.pdf
[7] โปรดดู โครงการทางจักรยาน Granby Street gateway scheme ของเมืองเลสเตอร์ สหราชอาณาจักร ที่ได้รับเงินอุดหนุนจากสหภาพยุโรปเพื่อสร้างโครงข่ายทางจักรยานเชื่อมต่อกันระหว่างพื้นที่ชุมชนเมืองของท้องถิ่นเมืองเลสเตอร์ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน Leicester City Council. (2013).
Granby Street gateway scheme. Retrieved April 29, 2013, from
http://www.leicester.gov.uk/granbystreetgateway/
[8] ตัวอย่างเช่น การสร้างทางจักรยานในพื้นที่ชุมชนเมือง ที่จอดจักรยานในพื้นที่หรืออาคารสถานที่บริเวณชุมชนเมือง ป้ายที่เกี่ยวข้องกับการสัญจรโดยจักรยาน และสัญญาณไฟควบคุมการจราจร เป็นต้น โปรดดูเพิ่มเติมจาก Fietsberaad. (2009).
Bicycle policies of the European principals: continuous and integral Fietsberaad Publication number 7.Utrecht: Fietsberaad (Expertise Centre for Cycling Policy), Retrieved April 29, 2013, from
http://www.fietsberaad.nl/library/repository/bestanden/Fietsberaad_publicatie7_Engels.pdf
[9] ประโยชน์ของการใช้งานจักรยานย่อมส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัยและการคมนาคมในประเทศต่างๆ กล่าวคือ รัฐหรือท้องถิ่นสามารถเพิ่มการใช้พื้นที่ผังเมืองด้านคมนาคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ (efficient use of space) โดยการใช้งานจักรยานสามารถทำให้ท้องถนนมีที่ว่างในการใช้ประโยชน์มากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ยานพาหนะประเภทอื่นๆ เช่นรถยนต์ การใช้งานจักรยานย่อมส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม (good for the environment) เพราะจักรยานขับเคลื่อนไปโดยกำลังของกล้ามเนื้อมนุษย์โดยที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ในทางตรงกันข้าม การขับขี่รถยนต์ย่อมมีไอเสียจากการเผาไหม้ของน้ำมันจนทำให้เกิดไอเสียที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ ดังเช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) และคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2) นอกจากนี้ การขี่จักรยังส่งผลดีต่อสุขภาพ (good for the body) เพราะการถีบจักรยานเท่ากับเป็นการออกกำลังกายอย่างหนึ่งทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ได้ทำงาน โปรดดูเพิ่มเติมใน Cambridge Cycling Campaign. (2008).
A Vision for 2020 from Cambridge Cycling Campaign. Cambridge: Cambridge Cycling Campaign, p 2. และ ปีดิเทพ อยู่ยืนยง. (2013).
กฎหมายสนับสนุนวัฒนธรรมการขี่จักรยานของประเทศอังกฤษ. Retrieved April 29, 2013, from
http://prachatai.com/journal/2013/02/45423
[13] European Commission Institute for Environment and Sustainability Transport and Air Quality Unit & European Environment Agency. (2011).
The application of models under the European Union's Air Quality Directive: A technical reference guide. Copenhagen: European Environment Agency, p 12.
[14] European Environmental Bureau. (2012).
A more effective Environmental Noise Directive EEB recommendations for the review of Directive 2002/49/EC on Environmental Noise. Brussels: European Environmental Bureau, p 4.
[18] Department for Transport. (2005).
Fact sheet: Electronically assisted pedal cycles (EAPCs) in Great Britain October 2005. London: Department for Transport, pp 1-4.
[19] สำหรับตัวอย่างของยานยนต์สองล้อหรือสามล้อที่ข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยระบบรับรองเฉพาะแบบสำหรับยานยนต์สองล้อหรือสามล้อ ค.ศ. 2002 ยกเว้นการบังคับใช้เอาไว้ เช่น จักรยานไฟฟ้าสามารถวิ่งความเร็วสูงสุดได้ไม่เกินไปกว่า 6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (vehicles with a maximum design speed not exceeding 6 km/h) และจักรยานไฟฟ้าสำหรับผู้พิการ (vehicles used by the physically handicapped) เป็นต้น