[1] คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดง ที่ อ.๑๕๘/๒๕๕๓ และที่ อ.๓๔/๒๕๕๓
[2] หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๒๔๗ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓
[3] ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ,
กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง(กรุงเทพมหานคร: จิรวัชการพิมพ์,๒๕๔๐),๑๐๓.
[4] ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์, ข้อพิจารณาบางประการเกี่ยวกับการฟ้องโต้แย้งสัญญาทางปกครองตามแนวคำพิพากษาศาลปกครองฝรั่งเศส ,ใน
รวมบทความทางวิชาการ เล่ม ๒ : กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ ,(กรุงเทพมหานคร:สำนักงานศาลปกครอง),(เชิงอรรถที่ ๔) ,๒๒๓-๒๒๔.
[5] นันทวัฒน์ บรมานันท์ ,
สัญญาทางปกครอง,(กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน,๒๕๔๖), (เชิงอรรถที่ ๑๕๘),๓๕๕.
[6] พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒
มาตรา ๓ สัญญาทางปกครอง หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ หรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
[7] หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพอ) ๐๔๐๘ง๔/ว ๓๖๕ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจ และการเพิ่มความคล่องตัวในการปฎิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๙
ข้อ ๓ หลักเกณฑ์ในการพิจารณายึดหลักประกันซอง
คำสั่งในการยึดหลักประกันซอง เป็นการใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล จึงถือเป็นคำสั่งทางปกครองตามนัยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ประกอบกับคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) วางหลักการไว้ว่า การพิจารณาคืนหลักประกันซองเป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ ดังนั้น กระบวนการในการพิจารณาออกคำสั่งยึดหลักประกันซองตลอดจนการพิจารณาคืนหลักประกันซอง จึงต้องถือปฏิบัติตามนัยพระราชบัญญัติดังกล่าว กล่าวคือ ผู้ถูกยึดหลักประกันซองจะต้องทำการอุทธรณ์คำสั่งการยึดหลักประกันซองต่อหน่วยงานผู้ออกคำสั่งก่อน ซึ่งหน่วยงานที่ออกคำสั่งยึดหลักประกันซองย่อมมีดุลพินิจในการพิจารณาว่า กรณีเกิดขึ้นเนื่องจากเหตุสุดวิสัยตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘ หรือไม่
[8] ดูรายละเอียดในคำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๕๘/๒๕๕๑ และที่ ๖๖๐/๒๕๕๑
[9] ดูรายละเอียดในคำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๙๕/๒๕๕๒