หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 108 จากทั้งหมด 167 หน้า
101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110
 
   
 
 
ข้อควรรู้เกี่ยวกับ ‘การซื้อสิทธิขายเสียง’ ในการเลือกตั้ง โดย คุณณัฐกร วิทิตานนท์
08 ธันวาคม 2550
 
 
ปัญหา ‘ทุจริต คอรัปชั่น’ มักถูกใช้เป็นข้ออ้างสำคัญของการก่อ ‘รัฐประหาร’ อยู่เสมอ (ทั้งไทยและเทศ) แทบทุกครั้ง พร้อมชุดคำอธิบายสำเร็จรูป (น่าจะเฉพาะของไทย) ว่าเป็นผลพวงจากการเททุ่ม ‘ซื้อเสียง’ ขนานใหญ่ของเหล่านักการเมือง / พรรคการเมืองก่อนหน้า เพื่อแข่งขัน
การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภาในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ศึกษาเฉพาะกรณีการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ (Conflict of Interest) โดย คุณคริษฐา ดาราศร
25 พฤศจิกายน 2550
 
 
แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในอดีตจะมีบทบัญญัติห้ามสมาชิกรัฐสภากระทำการอันเป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์สาธารณะมานานแล้วก็ตาม แต่จากการศึกษาพบว่า ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับ รวมถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ขาดกลไกสำคัญอันจะช่วยให้การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง ทำให้สมาชิกรัฐสภาสามารถอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายสร้างอิทธิพลในตำแหน่งหน้าที่และอาศัยตำแหน่งหน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิกรัฐสภาเรียกร้องผลประโยชน์โดยมิชอบให้แก่ตนเองและพวกพ้อง ด้วยวิธีการกระทำตนเสมือนเป็นผู้สนับสนุนให้เกิดการทุจริตเชิงนโยบายหรือการทุจริตแบบใหม่ที่แนบเนียนมากยิ่งขึ้น
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๑๘)
11 พฤศจิกายน 2550
(๓) ข้อสังเกต ประการที่ สาม : “เหตุการณ์รุนแรง” ในยุคเริ่มต้นของ Constitutionalism ของยุโรป ให้ประสบการณ์ อะไร แก่เรา : ประวัติศาสตร์สากลได้บันทึกไว้ว่า เหตุการณ์รุนแรงของประเทศฝรั่งเศสในระยะนี้ เริ่มต้นมาจากภาวะทางเศรษฐกิจ ที่ประเทศฝรั่งเศส
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๑๗)
11 พฤศจิกายน 2550
 
 
(๒) ข้อสังเกต ประการที่สอง : “กฎหมายมหาชน ( ยุคใหม่) “ กับ “สหรัฐอเมริกา”เราทราบอยู่แล้วว่า สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีรัฐธรรมนูญ (ลายลักษณ์อักษร)ฉบับแรกของโลก และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่ใช้ form of government เป็น“ระบบประธานาธิบดี – presiden
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๑๖)
28 ตุลาคม 2550
(๓) รัฐธรรมนูญ ค.ศ. ๑๗๙๕ เป็น รัฐธรรมนูญฉบับที่สาม ของประเทศฝรั่งเศส ยกร่างโดยฝ่ายที่ทำการปฏิวัติและยึดอำนาจ มาจากฝ่ายที่นิยมการรุนแรง (radical) และฝรั่งเศสก็ได้ทดลองรูปแบบการปกครอง (form of government) ใหม่อีกครั้งหนึ่ง และในคราวนี้ มีการเปลี่ยนทั
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544