หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 107 จากทั้งหมด 167 หน้า
101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110
 
   
 
 
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๒๐)
25 ธันวาคม 2550
( ๒.๑) “บทบาทของสถาบันกษัตริย์ ” ในการวิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย : ตำรากฎหมายรัฐธรรมนูญของเรา มิได้สอนให้นักศึกษาของเราทราบถึง วิวัฒนาการของบทบาทของกษัตริย์(ของประเทศที่พัฒนาแล้ว)ในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยอย่างครบถ้วน และทำให้นักศึกษา(และนักวิชาการ
สภาพวิชาการทางกฎหมายของประเทศไทย : สาเหตุแห่งความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ ๒ (หน้า๑๙)
25 ธันวาคม 2550
 
 
(ข) “ หลักการสำคัญ” ของระบบรัฐสภา (parliamentary system) : หลังจากที่เราได้ทราบถึงประสบการณ์ของยุโรปในช่วงการวิวัฒนาการของระบบรัฐสภา – parliamentary system ในระยะ ๑๐ ปีแรกของลัทธิ constitutionalism ในปลายศตวรรษที่ ๑๘ (ระยะ constitutional instability)
คำถามถึงสื่อมวลชนไทยกรณีร่าง พรบ.ความมั่นคงฯ โดย คุณชำนาญ จันทร์เรือง
23 ธันวาคม 2550
 
 
ไม่น่าเชื่อว่าร่าง พรบ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักรฯที่กำลังเข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งมีเนื้อหาที่ขัดต่อหลักนิติรัฐอย่างรุนแรงจะไม่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนเลย จนทำให้ไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นกับวงการสื่อในปัจจุบัน หรือว่าสื่อต้อ
หมวด ๑๖ การจัดทำรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปการเมือง โดย ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ และคณะ
23 ธันวาคม 2550
 
 
มาตรา ๒๙๑/๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกชื่อว่า “คณะกรรมการพิเศษเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติ” ประกอบด้วย กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจำนวน 7 คน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่หนึ่ง ได้แก่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญกฎหมายรัฐธรรมนูญ จำนวนห้าคน ได้แก่
ประชาธิปไตยแบบพอเพียง : การสถาปนาสังคมประชาธิปไตยที่ยั่งยืน โดย คุณฌานิทธิ์ สันตะพันธุ์
19 ธันวาคม 2550
 
 
ในประเด็นเรื่อง “ปัญหาประชาธิปไตยของไทย” นั้น ผู้เขียนตั้งใจจะนำเสนอความคิดความเห็นในรูปบทความทางวิชาการจำนวน 3 ชิ้นต่อเนื่องกัน ในลักษณะ “ไตรภาค” โดยในบทความชิ้นแรก คือบทความเรื่อง “วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย : รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก”
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544