หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 100 จากทั้งหมด 167 หน้า
91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100
 
   
 
 
หลักประชาธิปไตยของพรรคการเมืองไทย โดย คุณบุญเสริม นาคสาร
05 กรกฎาคม 2551
 
 
๑. บทนำพรรคการเมือง (political party) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญยิ่ง และขาดเสียมิได้ในระบอบประชาธิปไตยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องมาจากปรัชญา ทางรัฐศาสตร์ที่ว่า การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการเปิด
สิทธิและเสรีภาพในสังคมไทย โดย คุณชนินทร์ ติชาวัน
05 กรกฎาคม 2551
 
 
ในปัจจุบันเรามักจะได้ยินคำกล่าวที่ว่าการกระทำของตนนั้น “เป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ” ขึ้นมากล่าวอ้างเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับการกระทำของตนเองเสมอ แม้ว่าในบางครั้งการกระทำเช่นว่านั้นอาจจะดูไม่เข้าท่าเลยก็ตาม ผู้เขียนเองจึงขอใช้เสรีภาพในทา
การชุมนุมสาธารณะ (Public Assembly) โดย ฝ่ายพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
22 มิถุนายน 2551
 
 
ปรากฏการณ์สำคัญประการหนึ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่ปลายปี 2548 เป็นต้นมา ได้แก่ การจัดการชุมนุมสาธารณะเพื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมืองที่จัดขึ้นกันหลายต่อหลายเวที จนทำให้การชุมนุมสาธารณะหรือที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Public Assembly หรือ Public Demonstrations นั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนไทยไปแล้ว
เสรีภาพในการชุมนุม (Freedom of Assembly) ตามรัฐธรรมนูญ โดย คุณภาสพงษ์ เรณุมาศ
22 มิถุนายน 2551
 
 
ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดเสรีภาพของประชาชนไว้มากมาย หลายมาตรา อาทิ เช่น เสรีภาพส่วนบุคคล (มาตรา ๓๒ -๓๘)เสรีภาพในการประกอบอาชีพ (มาตรา ๔๓- ๔๔) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน (มาตรา ๔๕-๔๘) เสรีภาพในการศึกษา (มาตรา ๔๙-๕๐) เป็นต้น
สังคมไทยไปไม่ถึงนิติรัฐ ? โดย รศ.ดร.โภคิน พลกุล
06 มิถุนายน 2551
 
 
ได้มีการพูดและอ้างถึงหลักนิติรัฐ(Legal State)และหลักนิติธรรม(Rule of Law)ในสังคมไทยมาหลายทศวรรษแล้ว บางช่วงก็ดูเหมือนว่ากลุ่มบุคคลชั้นนำ (Elite) และมวลชนส่วนหนึ่งจะเข้าใจความหมายโดยรวมของคำดังกล่าวว่าเป็นรัฐในระบอบประชาธิปไตยที่ถือเอากฎหมายเป็นใหญ่ บุคค
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544