หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 96 จากทั้งหมด 167 หน้า
91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100
 
   
 
 
ความล้มเหลว ในการปฏิรูปฯ ๓การปฏิรูปการเมือง(ของคนไทย) ครั้งที่ ๓ จะสำเร็จหรือล้มเหลว (?) โดย ศ. ดร. อมร จันทรสมบูรณ์
09 พฤศจิกายน 2551
 
 
[หมายเหตุ ในการเขียนบทความของผู้เขียนตลอดเวลาที่ผ่านมา ผู้เขียนได้หลีกเลี่ยงการอ้างอิง “ชื่อ”ของกลุ่มการเมืองหรือของพรรคการเมืองมาโดยตลอด แต่บทความนี้ จะเป็นบทความที่ เป็น “ข้อยกเว้น” ของผู้เขียน
ประกาศของคณะปฎิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้หรือไม่ โดย นายพิเชฎฐ์ เพชรรัตน์
07 พฤศจิกายน 2551
 
 
เป็นที่ทราบกันดีว่า การยึดอำนาจของคณะปฎิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “คปค” เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ นอกจากจะมีการให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักรา
การกระทำของ ป.ป.ช. ชุดปัจจุบัน และ ค.ต.ส. ที่ใช้อำนาจหน้าที่ของ ป.ป.ช. ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ โดย นายพิเชฎฐ์ เพชรรัตน์
07 พฤศจิกายน 2551
 
 
หลังจากคณะปฎิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “คปค” ยึดอำนาจเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ แล้ว คปค ได้แต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งต่อไปจะเรียกชื่อว่า “ ป.ป.ช.” ชุดปัจ
ข้อสงสัยในวิธีพิจารณาคดีแบบไต่สวนกรณีคดีที่ดินรัชดาฯ โดย คุณชำนาญ จันทร์เรือง
27 ตุลาคม 2551
 
 
ผมไม่ติดใจต่อผลของคำพิพากษาคดีที่ดินรัชดาฯที่พิพากษาจำคุกคุณทักษิณด้วยมติ 5 ต่อ 4 เห็นว่าคุณทักษิณเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำผิดตาม พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ มาตรา 100 (1) วรรคสาม และต้องรับโทษตามมาตรา 122 เป็นกำหนดระยะเวลา 2 ปี โดยไม่รอลงอาญา เพราะคำพิพากษาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนั้น
ข้อสังเกตถึงวิธีการให้เหตุผลของศาลปกครองในคดีหมายเลขดำที่ ๑๖๐๕/๒๕๕๑ โดย คุณเข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง
12 ตุลาคม 2551
 
 
ก่อนการประกาศใช้รัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ประเทศไทยมีเพียงศาลระบบเดียว คือ ศาลยุติธรรม ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีทุกเรื่อง ปัญหาของเขตอำนาจศาลจึงไม่เกิดขึ้น แต่เมื่อประเทศไทยเปลี่ยนมาเป็นระบบศาลคู่ ซึ่งแยกคดีในกฎหมายมหาชนและคดีในกฎหมายเอกชน ปัญหาความยุ่งยากดังกล่าวจึงเกิดขึ้น การพิจารณาเรื่องเขตอำนาจจึงเป็นเรื่องที่ต้องกระทำทุกครั้งก่อนที่ผู้ฟ้องจะยื่นฟ้องคดี หรือศาลจะรับพิจารณาคดี เพราะการดำเนินกระบวนพิจารณาโดยศาลที่ไม่มีอำนาจย่อมส่งผลให้กระบวนพิจารณาดังกล่าวเสียไป ไม่มีผลทางกฎหมาย
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544