[๑]PRÉVÉDOUROU (E.),
Les recours administratifs obligatoires - Étude comparée des droits allemand et français, (Paris : L.G.D.J. 1996), p.154 et s.
[๒]ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครอง (VwGO) มาตรา ๖๘ และมาตรา ๖๙
[๓]DELAUNEY (B.),
Les recours administratifs préalables obligatoires en Allemagne, in Conseil d’État,
Les recours administratifs préalables obligatoires(Paris : La Documentation française, 2008), p. 211.
[๔]BELDA (B.), Faut-il généraliser le recours administratif préalable obligatoire ?, R.D.P., 2008, pp. 1484-1511.
[๕]กฎหมายบางฉบับอาจใช้คำว่า โต้แย้ง หรือ คัดค้าน แต่ในทางกฎหมายก็คือการขอให้ ฝ่ายปกครองทบทวนคำสั่งอันเป็นการ อุทธรณ์ คำสั่งนั่นเอง
[๖]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๒๘๙/๒๕๔๕ และ ๖๙๓/๒๕๔๕
[๗]มติที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ครั้งที่ ๒๒/๒๕๔๖ วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๖ เดินตามโดยคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๔๗/๒๕๔๖ และคำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๖๕/๒๕๔๖
[๘]เช่น คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๘๔๒/๒๕๔๗
[๙]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๘๐๑/๒๕๔๗
[๑๐]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๑๐๔๑/๒๕๔๗
[๑๑]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๘๐๑/๒๕๔๗ และ ๖๖๘/๒๕๕๑
[๑๒]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๑๙๔/๒๕๔๙
[๑๓]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๓๓๕/๒๕๕๐
[๑๔]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๕๒๓/๒๕๕๐
[๑๕]สำหรับบทวิเคราะห์และแนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้ โปรดดู ศุภวัฒน์ สิงห์สุวงษ์,
ปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม ๒๗ ตอน ๒ (๒๕๕๓), หน้า ๕๖-๘๔.
[๑๖]เช่น ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๖๐ ที่กำหนดให้ผู้ที่ไม่พอใจในการสั่งการของพนักงานที่ดินไปฟ้องต่อศาลภายในกำหนดหกสิบวันนับแต่วันทราบคำสั่ง
[๑๗]เช่น คำสั่งของนายอำเภอตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ที่สั่งให้นายกองค์การบริหารส่วนตำบลพ้นจากตำแหน่ง (มาตรา ๖๔ วรรคสอง) หรือที่วินิจฉัยให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพ้นจากสมาชิกภาพ (มาตรา ๔๗ ตรี วรรคสอง)
[๑๘]เช่น คำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ ที่สั่งให้คนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักรเนื่องจากเป็นบุคคลที่มีลักษณะตามมาตรา ๑๒ (๑) หรือ (๑๐) ซึ่งมาตรา ๒๒ บัญญัติ ห้ามมิให้อุทธรณ์
[๑๙]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๘๓๖/๒๕๔๖
[๒๐]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๕๐/๒๕๔๕ และ ๒๕๐/๒๕๕๐
[๒๑]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๕๙/๒๕๕๓
[๒๒]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๖๘๔/๒๕๔๕
[๒๓]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด (ประชุมใหญ่) ที่ ๓๙๔/๒๕๔๖
[๒๔]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๖๐/๒๕๕๕
[๒๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๓๓/๒๕๕๔
[๒๖]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๑๔/๒๕๕๐
[๒๗]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๖๗/๒๕๕๔
[๒๘]คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๑๐๓/๒๕๔๗
[๒๙]คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๒๐๙/๒๕๕๐
[๓๐]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๖๕/๒๕๕๑ และ ๓๖๗/๒๕๕๒
[๓๑]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๓๗๘/๒๕๕๓
[๓๒]คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๓๗๙/๒๕๕๐
[๓๓]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๒๓/๒๕๔๗
[๓๔]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๑๗/๒๕๔๙
[๓๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๘๔/๒๕๕๓
[๓๖]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๓๙/๒๕๔๕
[๓๗]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๘๐/๒๕๔๘
[๓๘]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๗๒๗/๒๕๕๒
[๓๙]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๕๓/๒๕๔๕
[๔๐]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๓๔๖/๒๕๔๗ และ ๓๑/๒๕๕๐
[๔๑]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๙๘/๒๕๔๒
[๔๒]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๖๓/๒๕๔๘
[๔๓]กรณีที่คำสั่งทางปกครองมิได้จดแจ้งสิทธิอุทธรณ์โดยถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ระยะเวลาอุทธรณ์จะเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่คู่กรณีได้รับแจ้งหลักเกณฑ์ดังกล่าว (มาตรา ๔๐ วรรคสอง)
[๔๔]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๒๑๓/๒๕๕๐
[๔๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๓๔/๒๕๕๑
[๔๖]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๔๗๖/๒๕๕๓
[๔๗]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๖๓๘/๒๕๔๕
[๔๘]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๓๖/๒๕๕๐
[๔๙]สำหรับหลักเกณฑ์การจดแจ้งสิทธิอุทธรณ์พร้อมตัวอย่าง โปรดดู คำแนะนำของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ที่ ๑/๒๕๔๐ เรื่อง หลักเกณฑ์การแจ้งสิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งทางปกครอง
[๕๐]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๒๑๓/๒๕๕๐
[๕๑]สำหรับบทวิเคราะห์การใช้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๖๖ โปรดดู ศุภวัฒน์ สิงห์สุวงษ์, ปัญหาการขยายระยะเวลาที่กำหนดไว้ในกฎหมายตามมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม ๒๕ ตอน ๓ (๒๕๕๑), หน้า ๙๓-๑๔๑.
[๕๒]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๓๔๕/๒๕๔๘
[๕๓]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๑๕๒/๒๕๔๙
[๕๔]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๔๔๔/๒๕๔๘, ๔๘๗/๒๕๔๙, ๔๘๘/๒๕๔๙, ๔๘๙/๒๕๔๙ และ ๑๕๖/๒๕๕๐
[๕๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๘๓/๒๕๕๑ และ ๔๗๐/๒๕๕๑
[๕๖]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๓๔/๒๕๕๑
[๕๗]สำหรับบทวิเคราะห์แนวคำวินิจฉัยในเรื่องนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมาย โปรดดู ศุภวัฒน์ สิงห์สุวงษ์, วันที่การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีผล กรณีส่งหนังสืออุทธรณ์ทางไปรษณีย์, วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม ๒๗ ตอน ๒ (๒๕๕๓) หน้า ๓-๕๕.
[๕๘]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๕๘/๒๕๔๖, ๔๗๐/๒๕๔๗, ๑๔๗/๒๕๕๐, ๓/๒๕๕๑, ๒๖๖/๒๕๕๑, ๒๖๗/๒๕๕๑, ๔๙๗/๒๕๕๑ และ ๓๕๕/๒๕๕๒
[๕๙]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๒๑๓/๒๕๕๐
[๖๐]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๓๒๒/๒๕๔๗
[๖๑]คำพิพากษาฎีกา ที่ ๔๙๘/๒๕๑๗
[๖๒]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๘๔๔/๒๕๔๗
[๖๓]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๑๒๙๖/๒๕๕๕
[๖๔]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๓๖/๒๕๔๖ และ ๓๘๒/๒๕๕๕
[๖๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๓๐/๒๕๕๔
[๖๖]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๔๓๗/๒๕๕๑
[๖๗]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๒/๒๕๔๖
[๖๘]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๑๘/๒๕๔๙
[๖๙]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๖๓๗/๒๕๕๐
[๗๐]คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๘๗/๒๕๕๐
[๗๑]คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.๘๗/๒๕๕๐
[๗๒]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๖๗๒/๒๕๔๔
[๗๓]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๑๔๓/๒๕๕๒
[๗๔]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๙๗/๒๕๔๕, ๓๔๓/๒๕๔๗ และ ๘๐๖/๒๕๕๐
[๗๕]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๒) เรื่องเสร็จที่ ๗๔/๒๕๕๔
[๗๖]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) เรื่องเสร็จที่ ๓๔๖/๒๕๕๖
[๗๗]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๑๖๓/๒๕๕๒
[๗๘]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๒) เรื่องเสร็จที่ ๗๖๙/๒๕๔๖
[๗๙]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๘๐๖/๒๕๕๐
[๘๐]ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๑) เรื่องเสร็จที่ ๑๒๙/๒๕๕๐ และความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๒) เรื่องเสร็จที่ ๒๘๕/๒๕๕๒
[๘๑]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๘๔๔/๒๕๔๗
[๘๒]อย่างไรก็ดี หากเจ้าหน้าที่พิจารณาอุทธรณ์ล่าช้าจนเกินสมควรและเกิดความเสียหายแก่ผู้รับคำสั่งทางปกครอง ก็อาจต้องรับผิดชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้
[๘๓]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด (ประชุมใหญ่) ที่ ๒๖๐/๒๕๔๖
[๘๔]สำหรับตัวอย่าง โปรดดู คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๒๒/๒๕๔๖, ๕๖๕/๒๕๔๗, ๑๗๖/๒๕๕๒, ๕๙๑/๒๕๕๔ และ ฟ.๘๔/๒๕๕๕
[๘๕]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๔๕๘/๒๕๕๐
[๘๖]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๑๑๒๗/๒๕๕๕
[๘๗]โปรดดู บรรเจิด สิงคะเนติ และ อนุชา ฮุนสวัสดิกุล,
ปัญหาการพิจารณาอุทธรณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์
www.pub-law.net เล่ม ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕, สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (๒๕๔๖) หน้า ๑-๖.
[๘๘]ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เรื่องเสร็จที่ ๓๑๙/๒๕๕๑ และข้อสังเกตท้ายความเห็นโดย ศุภวัฒน์ สิงห์สุวงษ์ ใน วารสารกฎหมายปกครอง, เล่ม ๒๗ ตอน ๒ (๒๕๕๓), หน้า ๑๕๓-๑๖๗.
[๘๙]คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ ๒๐๕/๒๕๕๐ และ ๖๐๓/๒๕๕๐