หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 49 จากทั้งหมด 167 หน้า
41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50
 
   
 
 
ปกิณกะ: ความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายสิ่งแวดล้อมว่าด้วยการควบคุมภาวะน้ำท่วมและกฎหมายเสริมสร้างการควบคุมภัยพิบัติทางธรรมชาติของฟิลิปปินส์
12 กุมภาพันธ์ 2555
 
 
ฟิลิปปินส์เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ประกอบด้วยพื้นที่ชายฝั่งทะเลที่มีระยะทางที่ยาวทำให้ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลกและประกอบด้วยเกาะจำนวนถึง 7,107 เกาะ ด้วยสภาพภูมิประเทศดังกล่าวทำให้ฟิลิปปินส์เป็นประเทศหนึ่งที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยจากภาวะน้ำท่วมค่อนข้างสูง เช่น ภาวะท่วมเฉียบพลัน (Flash flood) และภาวะน้ำท่วมจากวาตภัย (Estuarine flood) เป็นต้น
บทความวิชาการ ชุด “ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. ๒๐๐๓ : United Nations Convention against Corruption 2003 ” ตอนที่ ๑ บทบัญญัติทั่วไปและพันธกรณีในการกำหนดมาตรการป้องกันการทุจริตของภาคี
12 กุมภาพันธ์ 2555
 
 
หลายทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต่างตระหนักถึงผลร้ายที่เกิดขึ้นจากปัญหาการทุจริตมากยิ่งขึ้น เพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทุจริตนั้นได้ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงหลายประการ เช่น การก่อให้เกิดภาวะการถดถอยของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ปัญหาสังคมที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นเพราะขาดปัจจัยในการแก้ปัญหา การเกิดปัญหาการเลือกปฏิบัติและให้อภิสิทธิ์แก่บุคคลที่เอื้อผลประโยชน์ในภาครัฐ
สิทธิของชนชาวไทย
12 กุมภาพันธ์ 2555
 
 
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย สิทธิและเสรีภาพเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการพิจารณาในทางเนื้อหาว่ารัฐชาติใดนั้นเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ มากน้อยเพียงใด โดยกฎหมายที่รับรองในเรื่องนี้คือกฎหมายรัฐธรรมนูญสำหรับประเทศที่มีรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ซึ่งในทางการเมืองการปกครองการมีส่วนรวมทางการเมืองเป็นประเด็นที่สำคัญยิ่งต่อพัฒนาการทางการเมืองของแต่ละประเทศ ยิ่งประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากก็ยิ่งจะทำให้พัฒนาการทางการเมืองของประเทศนั้น ๆ สูงขึ้นตามไปด้วย
Pour améliorer les relations Etat français/ONG humanitaires: tête-à-tête ou « Grenelle »?
12 กุมภาพันธ์ 2555
 
 
Alors que dans la conception volontariste traditionnelle de l''intérêt général, le service public a une place centrale, d''aucuns, dans le domaine humanitaire, soutiennent que le fait d''être opérateur d''une politique publique, c''est-à-dire, pour faire simple, bénéficier de fonds publics pour une mission donnée, suffit à faire de l''opérateur, soit-il privé, un acteur de l''intérêt général; d''autres estiment dans leur for intérieur que la noblesse des sentiments s''exprimant dans une activité relevant de la solidarité suffit à qualifier l''intérêt général.
“The USA Impeachment Overview : ระบบการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของสหรัฐอเมริกา”
29 มกราคม 2555
 
 
ระบบการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเริ่มมีมาตั้งแต่ในสมัยกรีกโบราณ เรียกว่า “eisangelia” ต่อมาระบบรัฐธรรมนูญอังกฤษได้นำมาปรับใช้เป็นกระบวนการกล่าวหาบุคคลที่ใช้อำนาจไปในทางทุจริตประพฤติมิชอบ หรือกระทำการขัดต่อผลประโยชน์ของประเทศชาติ โดยรัฐสภาของอังกฤษได้นำมาบังคับใช้และปฏิบัติติดต่อกันมาจนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่อีกด้านหนึ่งในหลาย ๆ ด้านของรัฐสภา
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544