รัฐธรรมนูญไทย / องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ / อื่นๆ / บทความ
กนกขวัญ อนันตกูล. แนวคิดและบทบาทหน้าที่ของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินในทวีปเอเชีย ในการพัฒนาและรักษามาตรฐานงานให้บริการสาธารณะ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2554).
กมลชัย รัตนสกาววงศ์. กว่าจะเป็นใบแดง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 19 มีนาคม 2544.
กมลชัย รัตนสกาววงศ์. การคัดค้านการเลือกตั้ง - สอย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 19 มีนาคม 2544.
กระมล ทองธรรมชาติ.    องค์กรตามรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 5: ศาลรัฐธรรมนูญกับหลักประกันการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2549, หน้า 175 - 181.
 แก้วกานต์ กองโชค. ความเป็นนักวิชาการและกกต. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 58 ฉบับที่ 43 (15-21 กรกฎาคม 2554).
เฉลิมศักดิ์ จันทรทิม. ผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อความเป็นธรรมของแผ่นดิน. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
เชาวนะ ไตรมาศ. รัฐธรรมนูญกับการออกแบบการเมืองใหม่. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่มที่ 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).
เชาวนะ ไตรมาศ. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่: คนไทยใช้ประโยชน์ได้อย่างไร. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 471 - 502.
ธีระ สุธีวรางกูร. คำอธิบายต่อคำตอบเรื่องผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 22 มกราคม 2549.
ธีระ สุธีวรางกูร. บทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (ตอนที่ 1). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 11 ธันวาคม 2548.
ธีระ สุธีวรางกูร. บทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (ตอนที่ 2).    
ธีรเดช มีเพียร. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ตามรัฐธรรมนูญปี 2500. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
นพดล เฮงเจริญ. องค์กรอิสระ: ความสำคัญต่อการปฏิรูปการเมืองและการปฏิรูประบบราชการ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 21 (กันยายน - ธันวาคม 2548) หน้า 43 - 75.
นภดล ช. สรพงษ์. องค์กรตามรัฐธรรมนูญและอำนาจหน้าที่. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 เล่มที่ 23 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2549) หน้า 71 - 98.
นภดล ช. สรพงษ์. องค์กรตามรัฐธรรมนูญและอำนาจหน้าที่. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 เล่มที่ 23 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2549) หน้า 71 - 98.
นภดล เฮงเจริญ.   องค์กรอิสระ: ความสำคัญต่อการปฏิรูปการเมืองและการปฏิรูประบบราชการ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 9 - 49.
นุกูล สัณฐิติเสรี. บทบัญญัติว่าด้วยองค์กรอิสระและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2550) หน้า 21 - 66.  
บรรเจิด สิงคะเนติ.   ข้อสังเกตจากคำวินิจฉัยของศาล ในคดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง. วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 154 - 169.
บรรเจิด สิงคะเนติ. ปัญหาองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ. วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 1 - 49.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. แนวคิดการมีผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม - มีนาคม 2546).
ประวิช รัตนเพียร. แนวทางการพัฒนางานของผู้ตรวจการแผ่นดิน ในปัจจุบัน.  วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
ปราโมทย์ โชติมงคล. บทบาทของ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยสันติวิธี. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
ปัญญา อุดชาชน. บทบาทผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเกี่ยวกับการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 198. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 20 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 65 - 85.
ปัญญา อุดชาชน. การได้มาของผู้ดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้งและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. ศาลยุติธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2553).
ปัญญา อุดชาชน. ผู้ตรวจการแผ่นดิน : กระบวนการสรรหาและอำนาจหน้าที่.  วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553).
ปิยบุตร แสงกนกกุล. ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาไทยในปัจจุบัน. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2544).
ผาณิต นิตทัณฑ์ประกาศ. ผู้ตรวจการแผ่นดิน กับการแก้ไขปัญหาเชิงระบบ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย. ความเบ็ดเสร็จของ กกต. อีกประเด็นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 9 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 53 - 59.  
พิเชต สุนทรพิพิธ. บทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา กับการระงับข้อพิพาทอย่างสันติ.  วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
พิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์. การให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 37 (มกราคม - เมษายน 2554).
โภคิน พลกุล. การวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล. วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2545) หน้า 1 - 94.
มนตรี กนกวารี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรอิสระ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 21 (กันยายน - ธันวาคม 2548) หน้า 131 - 159.
มนตรี กนกวารี. รัฐธรรมนูญกับการสร้างธรรมรัฐในองค์กรอิสระ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 3 พฤษภาคม 2547.
มนตรี กนกวารี. รัฐธรรมนูญกับการสร้างธรรมรัฐในองค์กรอิสระ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 253 - 276.
มีชัย ฤชุพันธุ์. ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ.  วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
รักษเกชา แฉ่ฉาย. ผู้ตรวจการแผ่นดิน : ทศวรรษแห่งการพัฒนาและท้าทาย. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553).
รักษเกชา แฉ่ฉาย. ผู้ตรวจการแผ่นดินไทย ในเวทีโลก : พัฒนาการในช่วงต้นทศวรรษที่สอง. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์.   คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 1). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 11 ธันวาคม 2548.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์.   คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 2). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 25 ธันวาคม 2548.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์.   ผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 47/2547 กับตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2548.
วัชรา ไชยสาร. การพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมกับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รัฐสภาสาร. ปีที่ 56 ฉบับที่ 6 (มิถุนายน 2551) หน้า 64 - 91.
วัชรา ไชยสาร. สถานภาพและบทบาทหน้าที่ขององค์กรอัยการ: จากทนายแผ่นดิน ... ถึงองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 5, (พฤษภาคม 2551) หน้า 7 - 52.    
วิษณุ เครืองาม.   ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภากับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.. 2546. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 4 เล่มที่ 2 (ตุลาคม 2548 - มีนาคม 2549) หน้า 53 - 64.
วีระศักดิ์ แสงสารพันธ์ และชาลินี ถนัดงาน. ปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาในฐานะที่เป็นองค์กรตรวจสอบองค์กรของรัฐ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2547) หน้า 436 - 470.
วีระศักดิ์ แสงสารพันธ์. 3 ปี ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา: สรุปภาพรวมการวิเคราะห์เรื่องร้องเรียน. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 2 เล่มที่ 1 (เมษายน - กันยายน 2546) หน้า 69 - 83.
วีระศักดิ์ แสงสารพันธ์.   บทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา  ปีที่ 2 เล่มที่ 2 (ตุลาคม 2546 - มีนาคม 2547) หน้า 39 - 46.
ศาลปกครอง. การเปรียบเทียบขั้นตอนการร้องเรียนและอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภากับการดำเนินกระบวนวิธีพิจารณาคดีปกครอง. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ตุลาคม- มีนาคม 2546.
ศิวาวุธ สิทธิเวช.   สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 9. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 231 - 244.
ศรีราชา เจริญพานิช. ผู้ตรวจการแผ่นดิน กับการติดตามรัฐธรรมนูญและประเมินผลการปฏิบัตตามรัฐธรรมนูญ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
สมคิด เลิศไพฑูรย์. คดี ป... : มิชอบด้วยกฎหมาย VS ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 21 (กันยายน - ธันวาคม 2548) หน้า 22 - 42.
สโรช สันตะพันธุ์. การควบคุมการใช้อำนาจขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ: ข้อเสนอสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 16 ตุลาคม 2549.
สโรช สันตะพันธุ์. การควบคุมการใช้อำนาจขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 175 - 187.
สโรช สันตะพันธุ์. ปัญหาการสรรหาผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 10 กรกฎาคม 2548 และ 4 กันยายน 2548.
สิริรัตน์ มุลิจันทร์. บทบาทผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญกับความคาดหวังของประชาชน. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม - มีนาคม 2546).
สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ. ป.ป.ช.ไต่สวนผู้พิพากษา : สร้างสรรค์หรือแทรกแซงประโยชน์สุดท้ายใครได้ใครเสีย. ศาลยุติธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2552 - มกราคม 2553).
สิริยา พรหมราชยศ. ปัญหาและสถานะและอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 219-225.
สุรพล นิติไกรพจน์. แนวคิดการมีผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 16 มิถุนายน 2546.
สุนทร วาที. กกต.กับแรงกดดันจากทุกสารทิศ. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 58 ฉบับที่ 46 (5-11 สิงหาคม 2554).
สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 58 ฉบับที่ 39 (17-23 มิถุนายน 2554).
อมร จันทรสมบูรณ์. การตรวจสอบองค์กรอิสระด้านการตรวจเงินแผ่นดิน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 ธันวาคม 2546.
อมร จันทรสมบูรณ์. ปฏิรูปการเมือง ฤาจะไปไม่ถึงจุดหมาย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 มีนาคม 2546.
อมร จันทรสมบูรณ์.   ปัญหาการแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับพื้นฐานกฎหมายมหาชนของประเทศไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 23 มกราคม 2549.
อาชญา ข่าวสด. เผาบัตรเลือกตั้ง '50 คดีที่ยังไร้คำตอบ 'กกต.' อย่าซ้ำรอย ศึกเลือกตั้งใหญ่ '54. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1607 (3-9 มิถุนายน 2554).