รัฐธรรมนูญไทย /องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ / ศาลรัฐธรรมนูญ / บทความ
กมล โสตถิโภคา. องค์กรที่ทำหน้าที่คุ้มครองความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 35 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2553).
กฤฏิฎีกา ทองเพ็ชร. การเริ่มมีผลผูกพันของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีบทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ.  วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2553).
กล้า สมุทวณิช. ศาลรัฐธรรมนูญกับการพิจารณาคดีตามมาตรา 265 (กรณีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินฯ หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินฯด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงอันควรแจ้งให้ทราบ). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ   ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม - เมษายน 2544).
โกเมน ภัทรภิรมย์. ความเห็นเกี่ยวกับโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ   ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2545).
คมกฤช ล้นหลาม. ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมืองของศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (2554) หน้า 85-95.
จรัญ ภักดีธนากุล. ศาลรัฐธรรมนูญกับอำนาจวินิจฉัยว่าบทบัญญัติของกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
จรัญ ภักดีธนากุล. บทบาทศาลรัฐธรรมนูญในระบบศาลไทย: ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553).
จิรนิติ หะวานนท์. หลักเกณฑ์การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 6 ประกอบมาตรา 264. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544. 
ชนินทร์ ติชาวัน. องค์ประกอบและที่มาของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: ข้อเสนอสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 335 - 348.  
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. บทบาทและผลของการดำเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมือง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 5 (พฤษภาคม - กันยายน 2543).
เชาวนะ ไตรมาศ คุณค่าคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกับนัยของการปฏิรูปตามรัฐธรรมนูญ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 26กรกฎาคม 2547.
เชาวนะ ไตรมาศ ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ.   ww.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 19 เมษายน 2547.
เชาวนะ ไตรมาศ.   กระบวนการสร้างความเป็นเลิศในการผลิตคำวินิจฉัยกับภาระและความจำเป็นในการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐของศาลรัฐธรรมนูญ. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (เล่มที่ 48) ประจำเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2549 หน้า 4 - 24.
เชาวนะ ไตรมาศ.   ศาลรัฐธรรมนูญกับการจัดระเบียบประโยชน์มหาชนในระบบนิติรัฐ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4: ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 33 - 54.
เชาวนะ ไตรมาศ. ศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมือง. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544. 
เชาวนะ ไตรมาศ.   ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 81 - 102.
เชาวนะ ไตรมาศ. ศาลรัฐธรรมนูญกับความหลากหลายของมาตรการส่งมอบบริการด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 19 (มกราคม - เมษายน 2548) หน้า 69 - 80.
เชาวนะ ไตรมาศ. ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์การปฏิรูปการเมือง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 (กันยายน - ธันวาคม 2544).
ฌานิทธิ์ สันตะพันธุ์. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.. 2550. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 9 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 38 - 52.  
ณกฤช เศวตนันท์. ปัญหาข้อกฎหมายสำคัญในคดีหุ้นของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 8 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2544).
ทวน ลำปาว. คลิปฉาวตุลาการ ภาค 2 เข้าทางขบวนการ 'ล้มศาล' ตอกย้ำ 'ไม่เชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรม'.  เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 962 (5 พฤศจิกายน 2553).
ธีระ สุธีวรางกูร. ปัญหาเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของกฎหรือข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติของกฎหมายที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 3 (กันยายน - ธันวาคม 2542).
ธีระ สุธีวรางกูร. รายงานการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: ความสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม”. วารสารนิติศาสตร์   ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2544).
ธีระศักดิ์ เชี่ยวเวทย์. ปัญหาการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550: ศึกษากรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 (2554) หน้า 67-74.
นพดล เฮงเจริญ. บรรทัดฐานทางกฎหมายจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 22 เมษายน 2549.
นพดล เฮงเจริญ. ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 เล่มที่ 15 (กันยายน - ธันวาคม 2546).
นพนิธิ สุริยะ. ก่อนที่จะมาเป็นมาตรา 224 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และปัญหาที่ตามมาหลังคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 33/2543. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2545).
นภดล ช. สรพงษ์.   แง่คิดมุมมองต่อคำวิพากษ์วิจารณ์กรณีคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4: ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 27 - 32.
นภดล เฮงเจริญ. ศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
นฤมล ครองธรรมอาตม์.  การใช้สิทธิโต้แย้งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 264. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 ฉบับที่ 25 (กันยายน - ตุลาคม 2545), หน้า 5 - 15.
นันทวัฒน์ บรมานันท์.   ปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำของบุคคลตามมาตรา 198 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540). รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 417 - 438.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. ศาลรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 6 (กันยายน - ธันวาคม 2543).
นันทวัฒน์ บรมานันท์. หากศาลรัฐธรรมนูญทำผิดใครเป็นผู้ตรวจสอบ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 มีนาคม 2544.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. องค์กรตามรัฐธรรมนูญกับการทบทวนรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. องค์กรอิสระมีปัญหาถอดถอนได้ คำวินิจฉัยผิดพลาดจะทำเช่นไร. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 2 เมษายน 2544.
บรรเจิด สิงคะเนติ.   คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 52/2546 (เรื่องคณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 266 เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 145 วรรค 1 (3)). วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2547) หน้า 132 - 155.
บรรเจิด สิงคะเนติ. ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่ม 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).
บรรเจิด สิงคะเนติ. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่องเขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
บรรเจิด สิงคะเนติ.   บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 2 เมษายน (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 18 สิงหาคม 2549.
บรรเจิด สิงคะเนติ. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549). รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 131 - 153.  
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.   ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่คาดหวังในการปฏิรูปการเมือง. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 55 - 72.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในการปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 73 - 80.
บุญเสริม นาคสาร.    การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพโดยให้ประชาชนมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4: ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 91 - 108.
บุญเสริม นาคสาร. ศาลรัฐธรรมนูญไทยต่างจากศาลรัฐธรรมนูญอื่นและศาลรัฐธรรมนูญของต่างประเทศอย่างไร. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 24 มกราคม 2548.
บุญเสริม นาคสาร. องค์กรที่ทำหน้าที่ในการวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายของไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2549.
บุญเสริม นาคสาร.   องค์กรที่ทำหน้าที่ในการวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายไทย. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 250 - 274.
บุญเสริม นาคสาร. อำนาจหน้าที่และวิธีพิจารณาของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. วารสารคณะตุลารัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 เล่มที่ 24 (1) (กันยายน - ธันวาคม 2549) หน้า 86 - 113.
ปฐมพงษ์ คำเขียว. ศาลรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 39 (กันยายน - ธันวาคม 2554).
ปราณพงษ์ ติลภัทร. แนวทางการใช้สิทธิของประชาชนกับแนวคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. รัฐสภาสาร  ปีที่ 53 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2548), หน้า 1 - 78.
ปราณพงษ์ ติลภัทร.   สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยกับอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 6 เล่มที่ 18 (กันยายน - ธันวาคม 2547) หน้า 108 - 133.
ปรีชา จำรัสศรี. ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญโดยองค์กรตุลาการรัฐธรรมนูญต่างประเทศและศาลรัฐธรรมนูญไทย. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (2555) หน้า 142-152.
ปัญญา อุดชาชน.   บทบาทผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเกี่ยวกับการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 198. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 20 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548), หน้า 65 - 85.
ปัญญา อุดชาชน. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการ สรรหาผู้ดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2553), หน้า 27 - 72.  
ปัญญา อุดชาชน. ศาลรัฐธรรมนูญกับการยุบรวมพรรคการเมือง. รัฐสภาสาร  ปีที่ 52 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2547), หน้า 15 - 55.
ปัญญา อุดดาชน. ศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิบัติตามพันธกิจตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2552), หน้า 7 - 34.  
ปัญญา อุดชาชน. การได้มาของผู้ดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้งและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. ศาลยุติธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2553).
ปัญญา อุดชาชน. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ.  รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2553).
ปัญญา อุดชาชน. องค์กรตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่เหมาะสมกับประเทศไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 35 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2553).
ปัญญา อุดชาชน. การได้มาของผู้ดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 34 (2553) หน้า 6-55.
พลอย เพ็งเพ็ชร์. ความรับผิดทางอาญาฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจากการใช้อำนาจขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 (2555) หน้า 146-156.
พัฒนะ เรือนใจดี. ศาลรัฐธรรมนูญภิวัตน์. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2552) หน้า 7 - 15.  
พิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์. การพัฒนาคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 10 เล่มที่ 27 (มกราคม - เมษายน 2551) หน้า 29 - 63.
พิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์.   ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับการตรวจสอบปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 198. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 19 (มกราคม - เมษายน 2548) หน้า 81 - 124.
พิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์. ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม - เมษายน 2544).
พิมล ธรรมพิทักษ์. การให้ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 37 (2554) หน้า 82-100.
พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล. คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 17/2555 วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. จุลนิติ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (2556) หน้า 107-116.
ภาสพงษ์ เรณุมาศ. ฟ้องตรงศาลรัฐธรรมนูญกับแนวทางที่ยังต้องค้นหา. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 132 - 149.  
ภาสพงษ์ เรณุมาศ. หลักกฎหมายอันเกิดจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ (อดีต - พ.ศ. 2553). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 38 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2554).
ภาสพงษ์ เรณุมาศ. หลักกฎหมายอันเกิดจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ (อดีต - พ.ศ. 2553) (ตอนที่ 1). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 35 (2553) หน้า 96-131.
มานิตย์ จุมปา. การเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญโดยศาลยุติธรรม. วารสารกฎหมาย ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2545).
มานิตย์ จุมปา. การเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยกรณีเกิดปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
เรวัตร จันทร์ประเสริฐ และฤทัย หงส์สิริ. ความหมายของ "องค์กรต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 266”. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542).
ฤทัย หงส์สิริ. แนวโน้มและบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในอนาคต. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย  กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. ปัญหาการลงมติในประเภทของคดีในคดีรัฐธรรมนูญ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 17 มีนาคม 2546.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. การร้องทุกข์ทางรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายเยอรมัน : วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยประชาชนต่อศาลรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายไทย. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2553).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. ลักษณะทั่วไปของคำวินิจฉัยและผลผูกพันของคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารกฎหมายปกครอง ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 (2555) หน้า 28-48.
วรุตตม์ เสตสุวรรณ. ศาลรัฐธรรมนูญกับประชาชน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542).
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 (มกราคม - เมษายน 2545).
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. วิธีการพิจารณาวินิจฉัยและตีความรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและไทย. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544. 
วิษณุ เครืองาม. วิเคราะห์ผลกระทบตามแนวคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ  ปีที่ 8 เล่มที่ 22 (มกราคม - เมษายน 2549) หน้า 3 - 11.
วิศรุต คิดดี. เหตุใดจึงต้องมีศาลรัฐธรรมนูญ. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2553).
วิโรจน์ พลายแก้ว. การกำเนิดขึ้น อำนาจหน้าที่ การพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีศึกษาไทยและเกาหลีใต้. Veridian E-Journal, Silpakorn University ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (2553) หน้า 157-175.
วุฒิชัย จิตตานุ. กระบวนการทางกฎหมายตามคำร้องทุกข์ตามรัฐธรรมนูญ (Constitutional Complaint) ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก. วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ปีที่ 9 เล่มที่ 25 (2) (กรกฎาคม - เมษายน 2550) หน้า 34 - 50.
วุฒิชัย จิตตานุ.   กระบวนการทางกฎหมายในการควบคุมบรรทัดฐานในเชิงนามธรรม (Abstract nom control) ของศาลรัฐธรรมนูญในประเทศต่างๆ ทั่วโลก. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 20 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 15 - 27.
วุฒิชัย จิตตานุ. กลไกทางกฎหมายของศาลรัฐธรรมนูญระบบรวมศูนย์ (Centralized System) หรือรูปแบบยุโรป (European Model) ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4 : ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 109 - 138.
วุฒิชัย จิตตานุ.   บทบาทและอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญตามแนวความคิดรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 341 - 392.
วุฒิชัย จิตตานุ. ปัจจัย ที่สำคัญทางกฎหมายที่มีผลกระทบต่อบทบาทและอำนาจหน้าที่ศาลรัฐธรรมนูญตามแนวคิดรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานตามที่รัฐ ธรรมนูญรับรองไว้ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่ม 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).
วิรุฬห์ จินตนะกุล. ปัญหาการตรวจสอบการใช้อำนาจของคณะกรรมการสรรหาองค์กรตามรัฐธรรมนูญโดยองค์กรตุลาการ. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 (2554) หน้า 161-168.
ศาสตรา โตอ่อน และหิรัฐ อัศววงศ์เกษม. ข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารรพี’ 45. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
สถาบันรัฐธรรมนูญศึกษา สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. เปรียบเทียบองค์ประกอบ ที่มา และอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 10 เล่มที่ 27 (มกราคม - เมษายน 2551) หน้า 3 - 28.  
สภาวณีย์ อมรจิตสุวรรณ, ศรีสดา ไพศาลสกุลชัย. ปัญหาข้อกฎหมายขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 : ที่มาของคณะกรรมการสรรหา. วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี  ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (2556).
สมคิด เลิศไพฑูรย์ และบรรเจิด สิงคะเนติ. เขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา 264 และมาตรา 266. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
สมใบ มูลจันที. คณะกรรมาธิการตามมาตรา 135 ของรัฐธรรมนูญกับการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม - เมษายน 2544).
สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. คำชี้แจงต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ กรณีคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 47/2547. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4: ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 381 - 394.
สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. ศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 9 เล่มที่ 27 (กันยายน - ธันวาคม 2550), หน้า 19 - 50.
สุจิต บุญบงการ. คดีรัฐธรรมนูญกับการชี้สภาพปัญหาของการปฏิรูปการเมือง. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 27 - 34.
สุมาภรณ์ ศรีม่วง และอรรถวุฒิ รัตนสุภา. ศาลรัฐธรรมนูญกับการปฏิบัติพันธกิจตามรัฐธรรมนูญ. วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 เล่มที่ 24 (1) (กันยายน - ธันวาคม 2549) หน้า 33 - 5.
สุรพล นิติไกรพจน์ และคณะ. บทวิเคราะห์และข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 เล่ม 3 (กันยายน 2545).
สุวรรณ สุวรรณเวโช. บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในมิติใหม่. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 19 (มกราคม - เมษายน 2548), หน้า 2 - 47.
อมร รักษาสัตย์. การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนโดยการตีความของศาลรัฐธรรมนูญ กรณีความชอบด้วยรัฐธรรมนูญและการไม่ขัดหรือไม่แย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและความหมายของกฎหมาย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 เล่มที่ 14 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2546).
อภิวัฒน์ สุดสาว. ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมหรือไม่. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (2554) หน้า 137-146.
อภิวัฒน์ สุดสาว. ปัญหาในทางปฏิบัติของการยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 (2553) หน้า 137-144.
เอกณรงค์ เฉิดพันธ์. ศาลรัฐธรรมนูญกับการพิจารณาวินิจฉัยความขัดแย้งในอำนาจหน้าที่ระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 214.  วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 35 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2553).