|
โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และระบบศาลของประเทศตุรกี. |
วารสารวิชาการศาลปกครอง. |
ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2545). |
Shaw, Jo. |
Europe’s Constitutional Future. |
Public Law. |
Spring 2005, P 132 - 151. |
ฐิดารัตน์ นรินทรางกูร ณ อยุธยา. |
การออกกฎหมายสถานการณ์ฉุกเฉินในศาลซึ่งพิจารณาคดีโดยไม่มีลูกขุน : ประสบการณ์ไอร์แลนด์เหนือ. |
ดุลพาห. |
ปีที่ 55 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2551), หน้า 112 - 127. |
ณัฎฐา มูนจินดา. |
ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาสวีเดน. |
วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา. |
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (เมษายน - กันยายน 2546). |
ปัญญา ศรีสิงห์. |
ภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นอยู่รอดได้อย่างไร. |
The International Journal of East Asian Studies |
ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 97-102. |
ไปรยา ทัศนสกุล.
|
การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญในสหภาพพม่า:เปรียบเทียบกรณีการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. |
รวมบทความทางวิชาการของ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 8 ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองระบอบประชาธิปไตยตามหลักนิติธรรม. |
กรุงเทพฯ:สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 238 - 289. |
รัชดาพร นิ่มพงษ์ศักดิ์. |
การควบคุมกฎหมายที่ฝ่ายนิติบัญญัติตราขึ้นเพื่อจำกัดอำนาจศาลของสหรัฐอเมริกา กรณีคดีกวนตานาโม. |
วารสารวิชาการศาลปกครอง. |
ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2553) หน้า 18 - 34. |
วรลักษณ์ สงวนแก้ว. |
แนวทางการพัฒนาธรรมนูญอาเซียน : ศึกษาเปรียบเทียบระบบกฎหมายรัฐธรรมนูญของสหภาพยุโรป. |
วารสารยุโรปศึกษา |
ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 2-18. |
สุทธาสินี จิตรกรรมไทย. |
ชนกลุ่มน้อย กับ รัฐธรรมนูญพม่าฉบับล่าสุด. |
ศิลปวัฒนธรรม |
ปีที่ 31 ฉบับที่ 6 (2553) หน้า 40-43. |
สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. |
รัฐธรรมนูญญี่ปุ่น : จากอดีตสู่ปัจจุบัน. |
วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ |
ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (2555) หน้า 303-330. |
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. |
กระบวนการร่างกฎหมายและการให้บริการข้อมูลทางกฎหมายของสาธารณรัฐสิงคโปร์. |
จุลนิติ. |
ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (กันยายน - ตุลาคม 2553) หน้า 55 - 63. |
อุดม รัฐอมฤต. |
กฎหมายรัฐธรรมนูญจีน. |
วารสารนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
ปีที่ 40 ฉบับที่ 4 (2554) หน้า 713-727. |