รัฐธรรมนูญต่างประเทศ / ประเทศอื่น ๆ / สิทธิเสรีภาพหน้าที่ / บทความ
กัมพล อยู่มั่นธรรมา. สิทธิเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อมตามระบบกฎหมายไทย ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายสหภาพยุโรป. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 33 (กันยายน - ธันวาคม 2552) หน้า 137 - 179.
เกรียงศักดิ์ แจ้งสว่าง. การฟ้องคดีโดยปัจเจกบุคคลต่อศาลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 32 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2552) หน้า 79 - 105.
ชาญวิทย์ ชัยกันย์. หลักประกันสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชนตามรัฐธรรมนูญญี่ปุ่น. วารสารวิชาการศาลปกครอง. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2551) หน้า 66 - 85.
ณรงค์เดช สรุโฆษิต. เสรีภาพในการเผยแพร่โพลเลือกตั้ง: กรณีศึกษาจากประเทศฝรั่งเศส เกาหลีใต้ และฟิลิปปินส์. วารสารกฎหมาย. ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์ 2551) หน้า 231 - 261.
ดำรง วงศ์สัตยนนท์. สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญญี่ปุ่น. วารสารกฎหมายปกครอง. ปีที่ 24 ตอนที่ 1 หน้า 56 - 76.
บุญทิพย์ ผ่องจิตร์. เสรีภาพของหนังสือพิมพ์กับความผิดฐานหมิ่นประมาทในสหรัฐอเมริกา. วารสารนิติศาสตร์. ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (มีนาคม 2521).
ประเสริฐ สุขสบาย.   สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา. วารสารกฎหมายปกครอง. ปีที่ 24 ตอนที่ 1 หน้า 77 - 99.
พิชิตพล ศรียานนท์ . สิทธิในการขอรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการตามกฎหมายฝรั่งเศส เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา. วารสารกฎหมายปกครอง. เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2541).
มารุต บุนนาค. เสรีภาพในการพูดในสหรัฐอเมริกา. วารสารนิติศาสตร์. เล่ม 4 ตอน 1 (มิถุนายน 2515).
วุฒิชัย จิตตานุ.   สิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 5 ศาลรัฐธรรมนูญกับหลักประกันการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน. กรุงเทพฯ:สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2549, หน้า 151 - 172.
วุฒิชัย จิตตานุ. สิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ในประเทศต่างๆ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 5 เล่มที่ 14 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2546).