รัฐธรรมนูญต่างประเทศ / ประเทศอื่นๆ / ทฤษฎี / หนังสือ
  รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเวียดนาม. พระนคร: โรงพิมพ์วิบูลกิจ, 2492.
  รัฐธรรมนูญ (กฎหมายพื้นฐาน) แห่งสหภาพสาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยม. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. , 2520.
  Cases and Materials onConstitutional and Administrative Law Oxford University Press, 2003.
Barnett,Hilaire.  Constitutional & Administrative Law Cavendish Publishing, 2004.
ClementsRichard and Kay, Jane.  Constitutional and Administrative Law.  Oxford University Press, 2004.
Cracknell,D G. Constitutional and Administrative Law.   Old Bailey Press, 2003.
Cumper,Peter.  Constitutional and Administrative Law Oxford University Press, 2001.
Hatchard,John Ndulo,Muna and Slinn,Peter Comparative constitutionalism and good governance in the commonwealth: an Eastern and Southern African perspective.   Cambridge, 2004.
Hook, Glenn D and McCormack,Gavan . Japan’s Contested Constitution: Documents and Analysis.   Routledge, 2001.
Sadurski,Wojciech . Constitutional Theory.  Ashgate , 2005.
สถานเอกอัครราชทูตไทย (ผู้แปล). รัฐธรรมนูญสาธารณรัฐเกาหลี (ฉบับ ค.. 1972). กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. , 2516.
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. รัฐธรรมนูญและการเมืองการปกครองสหรัฐอเมริกา. นครปฐม: โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ, 2544.
จินดา ดวงจินดา. รัฐธรรมนูญกัมพูชาประชาธิปไตยและบทวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: แสงรุ่งการพิมพ์, 2521.
ดิเรก ชัยนาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญและเลือกตั้งพิสดาร. พระนคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 2493.
เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์. รัฐธรรมนูญนานาชาติ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2517.
ธวัช ทันโตภาส และก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ (ผู้แปล). รัฐธรรมนูญจีน. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์, 2528.  
นิพนธ์ ศศิธร (ผู้แปล). สหรัฐอเมริกา รัฐบาล โดยประชาชน . พระนคร: สำนักข่าวสารอเมริกัน, 2502.
พิชัยศักดิ์ หรยางกูร. กฎหมายรัฐธรรมนูญแคนาดา. กรุงเทพฯ: โครงการแคนาดาศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.
พินิตพันธุ์ บริพัตร. รายงานการวิจัยเรื่องการประชุมสมัชชาแห่งชาติเพื่อการร่างรัฐธรรมนูญ: จุดเริ่มต้นของประชาธิปไตยในพม่า. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
ไพโรจน์ ชัยนาม. รัฐธรรมนูญและการปกครองของอิตาลี. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการบริการทางวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529.
ไรน่าน อรุณรังษี. รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐแห่งอิหร่าน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วัฒนธรรมสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน, ม.ป.ป.
วรลักษณ์ สงวนแก้ว. รายงานการวิจัยเรื่องคุณค่าและสถานะทางกฎหมายของรัฐธรรมนูญยุโรป. กรุงเทพฯ: ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
วไล ณ ป้อมเพชร และน.ชญานุตม์. สหภาพโซเวียตอดีตและปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2516.
วิชัย ตันศิริ. รัฐธรรมนูญของประเทศตะวันตกและไทย : กรณีศึกษาทางประวัติศาสตร์และกฎหมาย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2536.
วิชัย ตันศิริ. รัฐธรรมนูญของประเทศตะวันตกและไทย : กรณีศึกษาทางประวัติศาสตร์และกฎหมาย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2540.
วิบูลพงศ์ พูนประสิทธิ์. การปกครองระบบสหพันธรัฐของอเมริกา. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2531.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. ศาลรัฐธรรมนูญไทย วิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้าง อำนาจหน้าที่และการบริหารงานบุคคลกับศาลรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: นิติธรรม , 2544.
วิษณุ เครืองาม. กฎหมายแองโกล - อเมริกัน. ม.ป.ท., 2520.
สมบัติ จันทรวงศ์ และคณะ (ผู้แปล). เดอร์เฟเดอรัลลิสต์เปเปอร์ : เอกสารความคิดทางการเมืองของอเมริกัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2530.
สมบัติ จันทรวงศ์. 200 ปี รัฐธรรมนูญอเมริกัน: อดีต ปัจจุบันและอนาคตของมหาชนรัฐประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง, 2531.
สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.   รายงานการศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลีและรัฐธรรมนูญประเทศญี่ปุ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.