รัฐธรรมนูญไทย / อื่นๆ / หนังสือ
  หนังสือชุดธรรมาภิบาล เรื่อง จับชีพจรประเทศไทย : ตัวชี้วัดประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
  หนังสือชุดธรรมาภิบาล เรื่อง วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า โดยการสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2547.  
  รายงานการจัดประชุมเสวนา เรื่อง หวยรัฐกับสังคมไทย.     กรุงเทพฯ: คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร ร่วมกับสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, ม.ป.ป.
  บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ.  กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันพระปกเกล้า, ม.ป.ป.
  แนวทางแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2543.
จดหมายเหตุศาลรัฐธรรมนูญ ฉบับที่สอง. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2555.
จดหมายเหตุศาลรัฐธรรมนูญ ฉบับปฐมฤกษ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2551.
กรมวิชาการ และมานิตย์ จุมปา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540): บรรณนิทัศน์ อภิธานศัพท์และดัชนีคำ. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.
กลุ่มกฎหมายการบริหารราชการแผ่นดิน 1 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. รวมความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.
กิตติศักดิ์ ปรกติ และฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล. สถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ซึ่งสืบทอดมาจากจารีตประเพณีและบทบัญญัติแห่งกฎหมาย. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
คณิต ณ นคร.  รัฐธรรมนูญกับกระบวนการยุติธรรม. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.
คณิน บุญสุวรรณ. พระมหากษัตริย์กับรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ ภูมิปัญญา จำกัด, 2542.
คณิน บุญสุวรรณ. อธิบายศัพท์รัฐธรรมนูญ : อังกฤษ - ไทย ไทย - อังกฤษ. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา, 2547.
จีรวัฒน์ ครองแก้ว. องคมนตรี: ศักดิ์ศรีแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ดี ฟอร์ ไลฟ์, 2550.
จุมพล หนิมพานิช. พัฒนาการทางการเมืองไทย: อำมาตยาธิปไตย ธนาธิปไตย หรือประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
ชัยรัตน์ เบ็ญจมะโน. คำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 100 ปี แห่งการปฏิรูประบบราชการ : วิวัฒนาการของอำนาจรัฐ และอำนาจการเมือง. กรุงเทพฯ : พี. เพรส, 2554.
เชาวนะ ไตรมาศ. การเมืองในรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2551.
ฌอง-ฌากส์ รูสโซ ; วิภาดา กิตติโกวิท, แปล. สัญญาประชาคมหรือหลักแห่งสิทธิทางการเมือง. กรุงเทพฯ : ทับหนังสือ. (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2555.
เดโช สวนานนท์. คำอธิบายศัพท์: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: หจก. วีทีซี คอมมิวนิเคชั่น จำกัด, 2541.
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ การศึกษาผลกระทบของมาตรา 190 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ว่าด้วยการจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศต่อการค้าและการลงทุนของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2552.
ถวิลวดี บุรีกุล (บรรณาธิการ). 5 ปีของการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2546.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. รัฐศาสตร์การเมือง: เสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: อินทภาษ, 2552.
ธงทอง จันทรางศุ พระมหากษัตริย์. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
ธงทอง จันทรางศุ. พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: บริษัท เอส.ซี.พริ้นท์แอนด์แพค จำกัด, 2548.
ธีระพล อรุณกสิกร และคณะ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) และ(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2554 กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2554.
นันทวัฒน์ บรมานันท์ คำอธิบายศัพท์กฎหมายมหาชนฝรั่งเศส-ไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2548.
นันทวัฒน์ บรมานันท์ และปาริชาต ศิวะรักษ์. ถกรัฐธรรมนูญ 2540. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2540.
นาถะ ดวงวิชัย. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับพุทธศักราช 2550 พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. กรุงเทพฯ: สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
นาถะ ดวงวิชัย. เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 - 2549. กรุงเทพฯ: สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
ประมวล รุจนเสรี. พระราชอำนาจ. กรุงเทพฯ: สุเมธ รุจนเสรี, 2548.
ปราโมทย์ นาครทรรพ. เก่งมาจากไหนจึงไม่เอากษัตริย์ : ปริทรรศน์การเมืองไทยถึงปัจจุบัน กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์กรีนปัญญาญาณ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2554.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. พระราชอำนาจองคมนตรีและผู้มีบารมีนอกรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: Openbooks, 2550.
ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในกิจการการต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
พรรณพร สินสวัสดิ์. แนว นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ. กรุงเทพฯ: กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
มานิตย์ จุมปา. คู่มือสอบเนติบัณฑิต กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2544.
มานิตย์ จุมปา. ประเภทและศักดิ์กฎหมายในรัฐธรรมนูญ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
มีชัย ฤชุพันธ์. ถามตอบกับมีชัย ฤชุพันธ์.   2548.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์.  เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ: บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540เล่ม 1. กรุงเทพฯ: มติชน, 2546.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ: บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540เล่ม 2. กรุงเทพฯ: มติชน, 2546.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์.  เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ: บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540เล่ม 3. กรุงเทพฯ: มติชน, 2547.
ลัดดาวัลย์ สินธุรักษ์. พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. จุดไฟในสายลม. กรุงเทพฯ : openbooks (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2555.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. วิเคราะห์เปรียบเทียบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540 กับรัฐธรรมนูญฉบับสำคัญ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2542.
สถาบันพระปกเกล้า. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
สถาบันพระปกเกล้า. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
สภาพัฒนาการเมือง. แผนพัฒนาการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
สวัสดิ์ ศรลัมภ์ และสุรศักดิ์ มณีศร. รัฐธรรมนูญประเทศประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญประเทศสังคมนิยม. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ม.ป.ป.
สุรพล นิติไกรพจน์ (ผู้รวบรวม). แถลงการณ์ของคณาจารย์คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2544-2547). กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
 สันติสุข โสภณศิริ. ผู้กำเนิดรัฐธรรมนูญไทย ปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการดำเนินงานฉลอง 100 ปี ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2553.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. พระราชอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.   รายงานการศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลีและรัฐธรรมนูญประเทศญี่ปุ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
โสภณ เพชรสว่าง และทนงศักดิ์ ม่วงมณี. ล้มรัฐบาล เลิกรัฐธรรมนูญ สืบทอดอำนาจเผด็จการทางการเมือง. กรุงเทพฯ: บริษัท โรงพิมพ์ทองกมล จำกัด, 2551.  
อัมมาร สยามวาลา และคณะ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่อง การเมืองกับผลประโยชน์ทางธุรกิจภายใต้รัฐธรรมนูญ พ..2540. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2547.
อุดมศักดิ์  สินธิพงษ์.  สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2548.