รัฐธรรมนูญไทย / อื่นๆ / บทความ
  พระราชปรารภ “คอนสติตูชั่น” ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.6 (เมื่อ พ..2534). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2544.
Alexander Shytov. Constitutional Law, Democracy and Thai Wisdom. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2547) หน้า 379 - 397.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. วัฒนธรรมทางการเมือง อำนาจการเมืองและรัฐธรรมนูญ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์ 2551) หน้า 75 - 100.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. ทางออกวิกฤติ รัฐธรรมนูญ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2551) หน้า 1 - 27. 
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. อารยาธิปไตย : ประชาธิปไตยบนฐานธรรมาธิปไตย. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2553).
เกรียงศักดิ์ แจ้งสว่าง. หนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจรัฐ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 8 มกราคม 2549.
กฤษฎา บุณยสมิต. โครงสร้างกฎหมายตราสามดวง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน) 2547.
กล้า สมุทวณิช. แนวทางรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) กับความคาดหวังในการปฏิรูปการเมืองไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน 2543).
กิตติพศ กำเหนิดฤทธิ์. รัฐธรรมนูญกับสิ่งแวดล้อม. รัฐสภาสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 9 (กันยายน 2547) หน้า 84 - 95.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในระบบบริการสาธารณสุขตามรัฐธรรมนูญ พ..2540. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2544).
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง. ชุมชน ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ในรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 1). วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 (2553) หน้า 799-821.
คณะอาจารย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ทัศนะทางกฎหมายเรื่อง “ปัญหาการระดมทุนของรัฐเพื่อนำไปซื้อหุ้นสโมสรลิเวอร์พูลกับภารกิจของรัฐ”. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 31 พฤษภาคม 2547.
เจริญ คัมภีรภาพ. การใช้ดุลพินิจที่ฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ. www.pub-law.net 5 พฤษภาคม 2546.
จุมพต สายสุนทร. การยอมรับและการใช้บังคับสนธิสัญญาตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญของรัฐ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2544).
เชาวนะ ไตรมาศ. แนวทางผลักดันการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญ: หลักทฤษฎี เจตนารมณ์ และแนวปฏิบัติ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 6 เล่มที่ 18 (กันยายน - ธันวาคม 2547) หน้า 83 - 107
เชาวนะ ไตรมาศ.    นโยบายชาติที่ปลอดความเป็นฝักฝ่ายกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 179 - 200
เชาวนะ ไตรมาศ. บทบาทใหม่ของราชการไทย: ในบริบทของรัฐธรรมนูญปัจจุบัน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542).
เชาวนะ ไตรมาศ.   มิติประชาธิปไตยในรัฐธรรมนูญ: กรณีรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับรัฐธรรมนูญไทย. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 179 - 200.
เชาวนะ ไตรมาศ. รัฐธรรมนูญและกฎหมาย - รัฐ - การเมืองการปกครองกับคุณค่าอันพึงประสงค์ วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ปีที่ 9 ฉบับที่ 26 (3) (พฤษภาคม - สิงหาคม 2550) หน้า 281 - 304.  
เชาวนะ ไตรมาศ.   รัฐธรรมนูญใหม่: ชะตากรรมใหม่ของประเทศ สังคม และประชาชน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 212 - 224.
เชาวนะ ไตรมาศ. รัฐธรรมนูญใหม่ของไทยกับข้อเสนอในการสร้างความสามารถทางการเมือง - การปกครองของประเทศ. วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 8 เล่มที่ 24 (1) (กันยายน - ธันวาคม 2549) หน้า 114 - 150.  
เชาวนะ ไตรมาศ. รัฐธรรมนูญกับการออกแบบการเมืองใหม่. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่มที่ 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).
เชาวนะ ไตรมาศ. รัฐสัญญาประชาคมกับการปลุกกระแสสำนึกใหม่ของการเมืองภาคประชาชน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 6 (กันยายน - ธันวาคม 2543).
เชาวนะ ไตรมาศ. คุณค่าและความดีงามในรัฐธรรมนูญ-กฎหมาย-รัฐ-ผู้ปกครองและการเมืองการปกครองที่ดี-ยุติธรรม. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 11-34.
ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม. คำวินิจฉัยใหม่ของศาลรัฐธรรมนูญมีผลต่อการเสียภาษีของสามีและภริยาอย่างไร?. บทบัณฑิตย์ ปีที่ 68 ฉบับที่ 4 (2555) หน้า 12-25.
ชนาทร จิตติเดโช. ศาสนาประจำชาติกับรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) หน้า 97 - 116.
ฌานิทธิ์ สันตะพันธุ์. วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย: รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 7 ธันวาคม 2549.
ฐากูร จุลินทร. การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาการเมืองของไทยและญี่ปุ่นในช่วงเวลา 22 ปี (พ.ศ.2532-2553). รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2553).
ทศพล เชี่ยวชาญประพันธ์. กระบวนการพิจารณาคดียุบพรรค: ความไม่เป็นธรรมของรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 305 - 313.
นิติกร จิรฐิติกาลกิจ. รัฐธรรมนูญไวมาร์ (Weimar constitution) กับกฎหมายพื้นฐาน (Basic law): บทสำรวจเบื้องต้นว่าด้วย ความเป็นรัฐธรรมนูญ ตามแนวคิดรัฐธรรมนูญของ คาร์ล ชมิทท์ (Carl Schmitt). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 37 (2554) หน้า 101-115.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. การรับสนองพระบรมราชโองการ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 6 สิงหาคม 2544.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. ถึงเวลาแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง ?. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2545.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. ประเทศไทยควรมีกติกาการทำโพลหรือยัง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 มีนาคม 2545.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. องค์กรชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 มีนาคม 2545.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. การตีความกฎหมาย: ตัวอักษรหรือเจตนารมณ์. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542).
บรรหาร กำลา. การทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (2555) หน้า 143-155.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.   ภูมิหลังมาตรา 50 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารกฎหมาย ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 (กันยายน 2547) หน้า 37 - 50.
บุญเรือง บูรภักดิ์. นโยบายแห่งรัฐ: ทำไมรัฐบาลชุดพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงต้องแถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) หน้า 130 - 169. 
ปัญญา อุดชาชน. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542).
ปัญญา อุดชาชน. ความยุติธรรมกับรัฐธรรมนูญภายใต้ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558. รัฐสภาสาร ปีที่ 60 ฉบับที่ 3 (2555) หน้า 7-37.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” อาวุธทรงพลังในหมู่ “ลูกแกะ”. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 18 มีนาคม 2549.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. เหตุการณ์สำคัญในกฎหมายมหาชนฝรั่งเศสตลอดปี 2004. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2548.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. เหตุการณ์สำคัญในกฎหมายมหาชนฝรั่งเศสประจำเดือนมกราคม 2005. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 พฤษภาคม 2548.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. พระราชอำนาจการลงพระปรมาภิไธย และการสนองพระบรมราชโองการ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 327 - 334.  
พรชัย ด่านวิวัฒน์. สนธิสัญญาตามมาตรา 190 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (2554) หน้า 43-55.
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย.   แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐปัญหาที่ถูกมองข้าม. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 41 - 45. 
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย.   ปัญหาว่าด้วยการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 9 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 347 - 352.
ภาสพงษ์ เรณุมาศ.   ข้อคิดเห็นบางประการในการบรรจุพุทธศาสนาไว้ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.. 2550. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 52 - 58.
ภาสพงษ์ เรณุมาศ.   ตุลาการภิวัตน์กับทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจการปกครอง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 113 - 122.
ภาสพงษ์ เรณุมาศ. ประชามติ (Referendum): รับ - ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฯ ฤาไม่เอารัฐบาล (เผด็จการ). รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 225 - 234.
โภคิน พลกุล. การวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2545.
มงคล เทียนประเทืองชัย. ผลการคุ้มครองรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 113(1). วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (2554) หน้า14-26.
มานิตย์ จุมปา. ประเด็นในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ (บางประเด็น). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2545.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์.  ข้อเสนอว่าด้วยการปฏิรูปการเมือง: บทวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ. รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (2546) หน้า 1 - 57.
ลิขิต ธีรเวคิน. รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ความชอบธรรม อำนาจและความยุติธรรม. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 19 (มกราคม - เมษายน 2548) หน้า 8 - 21.
ลันตา อุตมะโภคิน. ร่างพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบ คุมดูแลเด็ก พ.ศ. ... และร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฏรและวุฒิสภาซึ่งคณะ รัฐมนตรีลงมติให้ร้องขอต่อรัฐสภาเพื่อให้มีมติเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติต่อไปได้ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 153 วรรคสอง. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 (2554) หน้า 93-104.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. การเลือกตั้งในรัฐเสรีประชาธิปไตย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 1 (กันยายน - ธันวาคม 2542).
วรรณา สุพรรณธะธิดา. การบัญญัติพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญ. วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ปีที่ 9 เล่มที่ 25 (2) (มกราคม - เมษายน 2550) หน้า 110 - 137.
วรลักษณ์ สงวนแก้ว. ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการเรียนการสอนกฎหมายมหาชนในประเทศไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 7 มีนาคม 2548.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.   แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540) และรัฐธรรมนูญฉบับสำคัญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4 : ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 327 - 280.
ศาสตรา โตอ่อน. การปฏิรูปการเมืองเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุขในยุคโลกาภิวัตน์. รวมบทความ กฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 205 - 240.  
ศิระณัฐ วิทยาธรรมธัช.   พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ: มุมมองทางกฎหมายมหาชน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 44 - 51.
ศิระณัฐ วิทยาธรรมรัช. มาตรา 7 กับนายกพระราชทาน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 50 - 59.
ศรัญญู เทพสงเคราะห์. คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในระบอบใหม่ พ.ศ. 2478-94 : ที่มา แบบแผน และการปรับตัวของสถาบันกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 33 ฉบับที่ 9 (2555) หน้า 72-101.
สราวุธ เบญจกุล. องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย. ศาลยุติธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4, 5 (มิถุนายน - กรกฎาคม 2553).
เสนีย์ คำสุข. รัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยไทย. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) หน้า 82 - 129.  
เสนีย์ คำสุข. วิเคราะห์มิติประชาธิปไตยของรัฐธรรมนูญ พ.. 2550 เปรียบ เทียบกับรัฐธรรมนูญ พ.. 2540. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2550) หน้า 31 - 116.
สโรช สันตะพันธุ์. ข้อพิจารณาในการทูลขอนายกรัฐมนตรีพระราชทาน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550หน้า 1 - 8.  
สโรช สันตะพันธุ์. พระพุทธศาสนากับหลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 99 - 111.
สุเทพ เอี่ยมคง. รัฐธรรมนูญฉบับสมุดไทย: เอกลักษณ์แห่งความภาคภูมิใจของชนชาวสยาม. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2550) หน้า 117 - 136.   
อมร จันทรสมบูรณ์. ปฏิรูปการเมือง ฤาจะไม่ถึงจุดหมาย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 มีนาคม 2546.
อมร จันทรสมบูรณ์. ปัญหาการเลือก “กรรมการสรรหา กสชภายหลังที่มีคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพิถอนมติคณะกรรมการสรรหา. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 17 พฤศจิกายน 2546.
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์. รัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อม. วารสารนักบริหาร ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (2553) หน้า 87-95.
อำนาจ พัวเวส. จารีต ประเพณี หรือธรรมเนียมปฏิบัติทางรัฐธรรมนูญในการทูลเกล้าฯ ถวายร่างพระราชบัญญัติเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยและการประกาศกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา. วารสารคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ     ปีที่ 9 ฉบับที่ 26 (3) (พฤษภาคม - สิงหาคม 2550) หน้า 207 - 248.  
อิสระ นิติทัณฑ์ประภาศ.   ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 191 - 196.