รัฐธรรมนูญไทย / รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี / หนังสือ
ความรู้ในวงงานรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2552.
กนก วงษ์ตระหง่าน. การเมืองในสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.
กระมล ทองธรรมชาติ. รัฐสภาในระบบการปกครองของไทย. พระนคร: สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย, 2514.
กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์. คณะกรรมาธิการ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
คณะทำงานจัดทำข้อมูลเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา และวงงานรัฐสภา. ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฯ 2550 และวุฒิสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา,   2552.
คณะกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา: กษัตราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
คณะอนุกรรมการจัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติฯ. รัฐสภาไทยใต้ร่มพระบารมี 60 ปี ทรงครองราชย์. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2549.
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คดีปกครองที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรี : รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2552.
คณิน บุญสุวรรณ. กระบวนการทำงานของระบบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2541.
คณิน บุญสุวรรณ. ภาษาสภา. กรุงเทพฯ : เอมี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2554.
จุมพต สายสุนทร. หนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา (รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553.
เฉลิมขวัญ หวั่งประดิษฐ. ระบบรัฐสภาแยกอำนาจ: ทางออกเร่งด่วนของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2542.  
ชัยอนันต์ สมุทวณิช และเศรษฐพง ดูศรีพิทักษ์. กลไกรัฐสภา. กรุงเทพฯ: พิฆเนศ, 2518.
ถวิลวดี บุรีกุล.  รายงานการวิจัย เรื่องการปรับปรุงระบบงานของหน่วยงานในสังกัดรัฐสภา. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
ถวิลวดี บุรีกุล. รายงานการวิจัย เรื่องบทเรียนเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบการเลือกตั้งให้ดีขึ้น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. การปรับโครงสร้างของระบบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, 2554.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. เขตอำนาจของมติคณะรัฐมนตรี ศึกษากรณีรัฐวิสาหกิจ : รายงานการวิจัย เรื่องเขตอำนาจของมติคณะรัฐมนตรี ศึกษากรณีรัฐวิสาหกิจ. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2553.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. เขตอำนาจของมติคณะรัฐมนตรี ศึกษากรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: รายงานวิจัยเรื่องเขตอำนาจของคณะรัฐมนตรี ศึกษากรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2553.
นรนิติ เศรษฐบุตร. กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2544.
นรนิติ เศรษฐบุตร. บทบาทของวุฒิสภา: มุมมองของประชาชนและสมาชิกวุฒิสภา. นนทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, 2549.
นรนิติ เศรษฐบุตร และคนอื่นๆ. รายงานฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่องประสิทธิผลของรัฐสภาไทย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
นิยม รัฐอมฤต. จรรยาบรรณสำหรับสมาชิกรัฐสภา การศึกษาเปรียบเทียบ. นนทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
นิยม รัฐอมฤต. จรรยาบรรณสำหรับสมาชิกรัฐสภา : การศึกษาเปรียบเทียบ กรุเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2552.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และปัทมา สูบกำปัง. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2543.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. วุฒิสภาไทย: ความรู้เรื่องสมาชิกวุฒิสภา. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. การศึกษาบทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้งให้ดีขึ้น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
บุญชนะ อัตถากร. บันทึกวิเคราะห์ และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษา และวิจัย, 2526.
ปัทมา สูบกำปัง. รัฐสภาไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
ปัทมา สูบกำปัง. รัฐสภาไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
ปัทมา สูบกำปัง. รัฐสภาและระบบสนับสนุนการทำงานของรัฐสภา : ศึกษาเปรียบเทียบไทยและสาธารณรัฐเกาหลี. นนทบุรี : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2553.
ประณต นันทิยะกุล.  สาระแห่งรัฐธรรมนูญ: คำอธิบายรัฐธรรมนูญเรียงตามมาตรา หมวดที่ 6 รัฐสภา หมวดที่ 7 คณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: แว่นแก้ว (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2545.
ประทาน คงฤทธิศึกษากร. บทบาทของรัฐสภาในการควบคุมการบริหารราชการ ในอนุสรณ์แด่ ศ.ดร.มาลัย หะวานนท์ และ ศ.ดร.ชุบ กาญจนประกร. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ม.ป.ป.
ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบ 42 ปี (2475-2517). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช.ชุมชนช่าง (พิมพ์ครั้งที่ 2) , 2517.
ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบ 42 ปี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ, 2526.
พรรณพร สินสวัสดิ์. สภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2549.  
พิมพ์ใจ สระทองอุ่น. การร่างกฎหมายและกระบวนการนิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พิมพ์ครั้งที่ 4), 2547.
ไพโรจน์ ชัยนาม. “นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำต้องมาจากสมาชิกสภาเพียงไร” ในหนังสือวิชาการทางกฎหมายในโอกาสครบรอบ 50 ปี ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529.
มนตรี รูปสุวรรณ และคนอื่นๆ.   รายงานฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร และเสถียรภาพของรัฐบาล. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
มนตรี รูปสุวรรณ. กฎหมายรัฐสภา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2531.
มานิตย์ จุมปา. การอภิปรายไม่ไว้วางใจ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
มานิตย์ จุมปา. การยุบสภา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
มานิตย์ จุมปา. เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
ยงยุทธ แสงรุ่งเรือง. ผลกระทบจากอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาต่อความเป็นกลาง. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม, 2542.
วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์. สภาผู้แทนราษฎร. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์. วุฒิสภา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาในการรักษาวินัยพรรคการเมือง และการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนปวงชน.  กรุงเทพฯ : สถาบันรัฐธรรมนูญศึกษา สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2555.
ศรชัย ท้าวมิตร. ระบบรัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2549.
ศุภวิทย์ และนต เชื้อชวลิต. เมืองไทยในระบบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2510.
ศูนย์บริการเอกสารและค้นคว้า สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา. ระบบงานรัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการ รัฐสภา, 2530.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. หลักการใหม่ในกระบวนการนิติบัญญัติ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
สมบัติ จำปาเงิน. รัฐธรรมนูญ รัฐบาลและรัฐสภาของเรา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2520.
สุจิต บุญบงการ. บทบาทของสภานิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์, 2526.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. วุฒิสภา: จุดหักเหทางการเมือง. กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณฑ์แอนด์พริ้นติ้ง, 2548.
สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 60 ปี คณะรัฐมนตรีไทย. ม.ป.ท., 2535.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. รายงานการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างคณะรัฐมนตรีกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549.  
สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิลม์โปรเซส, 2539.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (พิมพ์ครั้งที่ 6), 2546.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาไทย ปี 2538 - 2544. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2547.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2546.  
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. วุฒิสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2543.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. วุฒิสภาไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2540.  
อัครเมศวร์ ทองนวล. คณะรัฐมนตรี. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.