รัฐธรรมนูญไทย / รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี / บทความ
รัฐสภาไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสหภาพรัฐสภา ครั้งที่ 122 รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2552).
กมลชัย รัตนสกาววงศ์. การกระทำที่ต้องห้ามในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. วารสารกฎหมาย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (พฤศจิกายน 2543).
กิตติชาติ สัมพันธ์นิรันดร.    การพิจารณาปรับปรุงข้อบังคับการประชุมรัฐสภา: ศึกษากรณีการให้ความเห็นชอบของรัฐสภาในการจัดทำหนังสือสัญญา ตามบทบัญญัติมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2552) หน้า 39 - 68.  
แก้วสรร อติโพธิ . ความชะงักงันของระบบรัฐสภาปัจจุบัน : ทางด้านที่น่าวิตก. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2526).
แก้วสรร อติโพธิ . สภาวะและปัญหาปัจจุบันของระบบรัฐสภาไทย. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527).
โกเมศ ขวัญเมือง. กลไกที่ออกแบบมาเพื่อให้ฝ่ายบริหารมีความมั่นคงและมีประสิทธิภาพตามรัฐธรรมนูญร่วมสมัยพร้อมด้วยผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น. รัฐสภาสาร   ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2549) หน้า 98-105.  
โกเมศ ขวัญเมือง. สภานิติบัญญัติ Legislatures. รัฐสภาสาร ปี่ที่ 57 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2552) หน้า 87 - 110.
คริษฐา ดาราศร. การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภาในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ศึกษาเฉพาะกรณีขัดกันระหว่างผลประโยชน์ (Conflict of Interest). รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2551) หน้า 39 - 62.
จเร พันธุ์เปรื่อง. กระบวนการตรากฎหมาย. รัฐสภาสาร ปีที่ 49 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2544) หน้า 1-88.
ชนายุส ตินารักษ์. รัฐสภาไทยแห่งใหม่กับการขับเคลื่อนงานก่อสร้าง. วารสารข่าวช่าง ปีที่ 37 ฉบับที่ 413 (พฤษภาคม - มิถุนายน 2553).
ชำนาญ จันทร์เรือง. เลือกตั้งนายกรัฐมนตรีโดยตรงกันดีไหม. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 19 มกราคม 2550.
ชำนาญ จันทร์เรือง. หนึ่งประเทศ สองรัฐบาล. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2549.
เชาวนะ ไตรมาศ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน 2543).
เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์.   รัฐสภาในรัฐธรรมนูญไทย. วารสารนิติศาสตร์   เล่ม 1 ตอน 1 (กรกฎาคม 2512) และเล่ม 1 ตอน 3 (ธันวาคม 2512).
ทรงศักดิ์ ทองศรี.   การปฏิรูประบบกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2552) หน้า 23 - 37.  
นันทวัฒน์ บรมานันท์. วุฒิสภากับอนาคตของประเทศไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 2 เมษายน 2544.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. บทบาทของสมาชิกวุฒิสภา. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน 2543).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. หน้าที่และบทบาทของวุฒิสภาและสมาชิกวุฒิสภา. วารสารกฎหมาย ปีที่ 25 ฉบับพิเศษ (สิงหาคม 2548) หน้า 89 - 112.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. เสรีภาพในการตัดสินใจของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับพรรคการเมืองไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 6 (กันยายน - ธันวาคม 2543).
ปราโมทย์ โชติมงคล. บทบาทของ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยสันติวิธี. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
พงศธร สัตย์เจริญ. การกระทำของรัฐบาลกับการออกพระราชกำหนด. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 18 สิงหาคม 2549.
พงศธร สัตย์เจริญ. การกระทำของรัฐบาลกับการออกพระราชกำหนด. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 154 - 163.
พนม เอี่ยมประยูร.   การคัดค้านการเลือกตั้ง.   หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ ผศ.ดร.พนม เอี่ยมประยูร เผยแพร่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2545.  
พัชร์ นิยมศิลป. สถานะของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วนเมื่อมีการยุบพรรคการเมือง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 337 - 341.
พัฒนะ เรือนใจดี.   ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาที่เหมาะสม. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2553) หน้า 7 - 12.   
พิจิตร เกิดจร. ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับคณะกรรมการสรรหาและที่มาของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (2553) หน้า 24-32.
พิเชต สุนทรพิพิธ. บทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา กับการระงับข้อพิพาทอย่างสันติ วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
พีระพจน์ รัตนมาลี. โฉมหน้าวุฒิสภาไทย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 6 (กันยายน - ธันวาคม 2543).
มนตรี รูปสุวรรณ. ควรศึกษากฎหมายรัฐสภา (Parliamentary Law) ในคณะนิติศาสตร์หรือไม่? . วารสารกฎหมาย ปี่ที่ 10 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2528).
มนตรี รูปสุวรรณ. ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาสภาผู้แทนราษฎรไทย. วารสารกฎหมาย ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม 2531).
มนตรี รูปสุวรรณ. ระบบการบริหารงานหน่วยธุรการของรัฐสภาที่เป็นอิสระ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม 2540).
มีชัย ฤชุพันธุ์. ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2555).
ยุวดี นิ่มสมบุญ. บทบาทของสมาชิกวุฒิสภาสตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2552) หน้า 16 - 67. 
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. วิเคราะห์ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน 2543).
วัชรา ไชยสาร. สาระสำคัญว่าด้วยพรรคการเมือง รัฐสภา และคณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2553) หน้า 29 - 58.  
วิษณุ เครืองาม. บทบาทของผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายของคณะรัฐมนตรี. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสาร ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2555).
วุฒิชัย จิตตานุ. ระบบอำนาจเดี่ยวในระบบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 2). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 12 ฉบับที่ 35 (2553) หน้า 155-185.
วุฒิชัย จิตตานุ. ระบบอำนาจเดี่ยวในระบบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ (ตอนสุดท้าย). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 14 ฉบับที่ 40 (2555) หน้า 112-135.
ศตพล วรปัญญาตระกูล.     บทบาท ส.. ระบบพรรคการเมือง เสถียรภาพรัฐบาล กับข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2554) หน้า 9 - 25. 
ศตพล วรปัญญาตระกูล. บทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภากับการพัฒนาการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2553) หน้า 13 - 25.  
ศตพล วรปัญญาตระกูล. บทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภากับการพัฒนาการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2553).
ศุทธิกานต์ มีจั่น. วุฒิสภาในกระแสการเปลี่ยนแปลงของการปฏิรูปและรัฐธรรมนูญ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2553) หน้า 13 - 35.   
ศุทธิกานต์ มีจั่น. วุฒิสภาในกระแสการเปลี่ยนแปลงของการปฏิรูปและรัฐธรรมนูญ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 5 (2553) หน้า 13-35.
สมใบ มูลจันที.   กระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา: กรณีศึกษาร่างรัฐธรรมนูญของสภาร่างรัฐธรรมนูญ 2540. รัฐสภาสาร   ปีที่ 54 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2549) หน้า 7 - 37.  
สมใบ มูลจันที.   คณะกรรมาธิการตามมาตรา 135 ของรัฐธรรมนูญกับการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม-เมษายน 2544).  
สมใบ มูลจันที. ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2550) หน้า 50 - 84.  
สุนทร วาที. รัฐสภาอังกฤษ-แม่บทรัฐสภาไทย.  สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 57 ฉบับที่ 34 (14 - 20 พฤษภาคม 2553).
สาทิตย์ วงศ์หนองเตย. การมอบนโยบายในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (ปคร.). สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2553).
สุนีย์ ธีรวิรุฬห์.   การพิจารณาให้ความเห็นชอบหนังสือสัญญากับนานาประเทศของรัฐสภาตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2552) หน้า 7 - 72.  
เสนีย์ คำสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างวุฒิสภากับการเมือง: ปัญหาและทางออก. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2553) หน้า 59 - 76.  
เสนีย์ คำสุข. รัฐธรรมนูญ พ.. 2550: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภากับปัญหาการสร้างประชาธิปไตยของไทย. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2551) หน้า 28 - 73.  
เสนีย์ คำสุข. การอภิปรายไม่ไว้วางใจในสภา มิติด้านบวกและลบต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย. รัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2554).
เสนีย์ คำสุข. สาเหตุของการมีวิธีคิดและใช้แบบแผนการเมืองเดิมๆของนักการเมืองไทย : กระบวนการอภิปรายไม่ไว้วางใจ และการปรับคณะรัฐมนตรี 31 พฤษภาคม - 6 มิถุนายน 2553. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2553).
อรพิน ผลสุวรรณ์ สบายรูป. ศาลบัญชีกับรัฐสภา. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2536).