รัฐธรรมนูญไทย / รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี / วิทยานิพนธ์
กนกวรรณ พรประสิทธิ์. บทบาทของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายเสียงข้างน้อยในระบบรัฐสภากับปัญหาตามรัฐธรรมนูญไทย: ศึกษากรณีการตรวจสอบฝ่ายบริหาร. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
ธนิกาญจน์ ปาลกะ วงศ์ ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.
ชลวิทย์ นิโครธานนท์. ปัญหาทางกฎหมายบางประการของคณะรัฐมนตรีรักษาการ. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550. 
ชาญวิทย์ เอนกสัมพันธ์. ผลการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในฐานะผู้กระทำการทางนิติบัญญัติ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552.
จุฑาลักษณ์ จำปาทอง. การแก้ไขข้อผิดพลาดในร่างกฎหมายที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550. 
ฐานพร ม่วงมณี. รัฐสภากับการมีส่วนร่วมในการทำหนังสือสัญญาของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550. 
ณรงค์ พันธ์แสง. การควบคุมและตรวจสอบองค์กรอิสระโดยวุฒิสภา. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549. 
ทวีศักดิ์ ตู้จินดา บทบาทของรัฐสภาไทย ในการควบคุมธรรมาภิบาลของตำรวจ วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. 
ธราวุฒิ สิริผดุงชัย ระบบสภาเดี่ยว : ทางเลือกของระบบรัฐสภาไทย วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554. 
นฎา สินอนันต์วณิช. ปัญหาที่เกิดจากการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ปฐมพงศ์ ลิมปอังศุ บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการสิ้นสุดความเป็นสมาชิกสภา และรัฐมนตรีเพราะเหตุแห่งการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งประโยชน์ วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. 
ไพบูลย์ มงคลศุภวาร. ปัญหากระบวนการตรากฎหมายของรัฐสภาไทย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2548. 
รัชนิภา สายอุบล. กระบวนการงบประมาณของรัฐสภาไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(รัฐประศาสนศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2552. 
ศตพล วรปัญญาตระกูล ปัญหาขอบเขตการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557. 
ศักดิ์ชัย จีรพรชัย. บทบาทของคณะกรรมาธิการในระบบรัฐสภาไทย: กรณีศึกษา คณะกรรมาธิการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542.
ศาสตราวุธ ทักษิณ. บทบาทสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2551. 
สรรค์ชัย ชญานิน. อำนาจในการเสนอร่างพระราชบัญญัติของสมาชิกวุฒิสภา. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552. 
สายันต์ ขุนขจี. สิทธิของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเสนอร่างกฎหมายตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.
สุรัชนี พานำมา การควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายบริหารโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ศึกษากรณีพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.. 2554 วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
หนึงฤทัย อายุปานเทวัญ ปัญหาการยุบสภาผู้แทนราษฎร วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
อดิพงศ์ พรหมศิริสมบัติ. บทบาทของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.