รัฐธรรมนูญไทย / การมีส่วนร่วมของประชาชน / บทความ
  การมีส่วนร่วมของประชาชนและการปกครองท้องถิ่น. วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2542) หน้า 2-14.
จามร โสมานันท์.   การปรึกษาหารือและการรับฟังความคิดเห็นในกระบวนการนิติบัญญัติและการออกกฎบังคับ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 22 เล่มที่ 1 (กรกฎาคม 2546) หน้า 215 - 260.
จุมพล หนิมพานิช. กลุ่มผลประโยชน์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองไทย. รัฐสภาสาร  ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2548) หน้า 59-90.
จุมพล หนิมพานิช. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกับการส่งเสริมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและการเมืองแนวใหม่. รัฐสภาสาร  ปีที่ 53 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2548) หน้า 5 - 18.
เจริญ คัมภีรภาพ. วิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติการรับฟังความเห็นของประชาชน พ.. …. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 28 กรกฎาคม 2546.
ชัชวาลย์ ทัตศิวัช. ความไว้วางใจกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2551) หน้า 7 - 80.  
ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครอง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (ธันวาคม 2537).
เชาวไตรนะ มาศ. รัฐธรรมนูญกับการสร้างฐานทุนประชาธิปไตยในการเมืองภาคประชาชน. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 201 - 222.
เชาวนะ ไตรมาศ.   การเสริมสร้างพลังภาคประชาชนกับการสร้างฐานรากประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 5: ศาลรัฐธรรมนูญกับหลักประกันการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2549, หน้า 425 - 452.
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์.    บทวิเคราะห์ “ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแร่ พ.. ....”: ร่างกฎหมายเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการแร่หรือเพื่อ “การร่วมมือ (กันระหว่างองค์กรของรัฐและนายทุนธุรกิจ (?). รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2553) หน้า 7 - 44.  
นันทวัฒน์ บรมานันท์.   กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 27 พฤศจิกายน 2548, วันที่ 25 ธันวาคม 2548 และวันที่ 22 มกราคม 2549.
นันทวัฒน์ บรมานันท์.   การออกเสียงประชามติที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540). รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3 : ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 115 - 169.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. ข้อเสนอสำหรับกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในประเทศไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 21 เมษายน 2546.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. ประชาชนกับการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายและข้อบัญญัติท้องถิ่น. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.   ส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง: ความยั่งยืนของประชาธิปไตย. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3 : ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 287 - 298.
บุญเสริม นาคสาร.   การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน: ผลในทางปฏิบัติเมื่อครบรอบหกปีของการปฏิรูปการเมือง. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 223 - 252.
บุญเสริม นาคสาร.   ผลในทางปฏิบัติของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 5: ศาลรัฐธรรมนูญกับหลักประกันการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2549, หน้า 453 - 481.
ปกรณ์ นิลประพันธ์. Thailand’s Public Consultation law: opening the Door to Public Information Access and Participation. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 12 ธันวาคม 2546.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับความเป็นประชาธิปไตยทางตรง. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2541).
พรเลิศ สุทธิรักษ์. การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบการให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2540 กับ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2551) หน้า 77 - 132.  
พัชรี สิโรรส. รัฐและประชาชนในการร่วมร่าง พ... ทรัพยากรน้ำ พ.. ... รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2550) หน้า 157 - 190.
วรชัย แสนสีระ. หลักการและข้อแตกต่างระหว่าง ประชามติ กับ ประชาพิจารณ์ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. จุลนิติ ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 (2553) หน้า 145-155.
วรรณภา ติระสังขะ. La participation du citoyen en Thaïlande. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.netเล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 330 - 350.
สติธร ธนานิธิโชติ. การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2548) หน้า 67-72.
สนธิกาญจน์ เพื่อนสงคราม. การเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนกับบทบาทในการเสริมสร้างความเป็นประชาธิปไตย. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2553) หน้า 44 - 70.