รัฐธรรมนูญไทย / การจัดทำ แก้ไข และตีความรัฐธรรมนูญ / บทความ
กาญจน์ วรกุล. แนวความคิดเกี่ยวกับการร่างรัฐธรรมนูญกับการอุดช่องว่างของกฎหมาย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 9 ฉบับที่ 27 (กันยายน - ธันวาคม 2550) หน้า 94 - 108.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. แนวคิดเกี่ยวกับการยกร่างรัฐธรรมนูญ : สถาบันทางการเมืองว่าด้วย ส.. และ ส... รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) หน้า 7 - 20. 
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์.   การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ: วิธีบำรุงรักษารัฐธรรมนูญบทเรียนจากอเมริกา. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 30 (กันยายน 2547) หน้า 36-51.
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง.   ข้อควรคำนึงในการร่างรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 19 - 21.
ชนิตา อึ๊งผาสุข. การแก้ไขปัญหาเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 : การแก้ไขมาตรา 190 วรรคสอง กรณีหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันด้านการค้าการลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 37 (2554) หน้า 46-81.
ชนินทร์ ติชาวัน. ข้อความคิดบางประการเกี่ยวกับการยุบพรรคและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 74 - 81.
เชาวนะ ไตรมาศ รัฐธรรมนูญ : ทำไมต้องตีความ . วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 เล่มที่ 13 ( มกราคม - เมษายน, 2546 ) 
เชาวนะ ไตรมาศ. แนวทางการออกแบบรัฐธรรมนูญใหม่ให้มีความสามารถทางการเมืองการปกครอง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 10 ฉบับที่ 29 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2551) หน้า 14 - 39.
เชาวนะ ไตรมาศ.    รัฐธรรมนูญ: ทำไมต้องตีความ. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 439 - 470.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ และนวรัตน์ นพคุณ. ผลกระทบที่เกิดจากการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน. รัฐสภาสาร  ปีที่ 53 เล่มที่ 7 (กรกฎาคม 2548) หน้า 1-4.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ. จุดเด่นและจุดด้อย ของรัฐธรรมนูญ พ.. 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) หน้า 7 - 14. 
ธัชชา ร่มรื่นสุขารมย์. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในประเทศไทย. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527).
นพดล เฮงเจริญ. แนวคิดในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. รวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3 : ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 277 - 286.
นุกูล สัญฐิติเสรี. ประเด็นสำคัญในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ (ฉบับรับฟังความคิดเห็น) กรอบที่ 2 ว่าด้วยสถาบันการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) หน้า 15 - 69.  
นุกูล สัญฐิติเสรี. ถอดบทเรียนรัฐธรรมนูญ 2540 เพื่อร่างรัฐธรรมนูญ 2550. สถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2550).
บรรหาร กำลา. ข้อเสนอเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในอนาคต. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 (2555) หน้า 163-173.
บรรหาร กำลา. คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ : กรณีปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 (2554) หน้า 171-178.
บรรหาร กำลา. ปัญหาการบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกี่ยวกับหลักการป้องกันมิให้มีการกระทำที่เป็นการขัดกัน. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (2554) หน้า 187-199.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ร่างกฎหมายที่ผ่านรัฐสภาผิด: จะป้องกันและแก้ไขอย่างไร . www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 29 ธันวาคม 2546 
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. ปัญหาการตีความรัฐธรรมนูญและทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527).
บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. การใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2532).
ปณิธัศน์ ปทุมวัฒน์. การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 (2555) หน้า 43-49.
ปราณพงษ์ ติลภัทร. ภาคประชาชนระดับท้องถิ่นกับอำนาจรัฐและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร
ประวิน สุจริตกุล ตรรกกับการตีความวินิจฉัย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 เล่มที่ 23 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2549) หน้า 48 - 70
ปราณพงษ์ ติลภัตร.    ภาคประชาชนระดับท้องถิ่นกับอำนาจรัฐและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร ปีที่ 59 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2554) หน้า 26 - 54.  
ไปรยา ทัศนสกุล.   การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญในสหภาพพม่า:เปรียบเทียบกรณีการลงประชามติร่าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 8:ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองระบอบประชาธิปไตยตามหลักนิติธรรม กรุงเทพฯ:สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 238 - 289.
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย. จากรัฐประหารสู่ประชามติ: ปัญหาและข้อคิดบางประการสำหรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 34 - 43.
พัฒนะ เรือนใจดี. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน พ.. 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2551) หน้า 64 - 81.  
พูนศักดิ์ ไวสำรวจ. รูปแบบและวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม 2540).
ไพโรจน์ กัมพูสิริ. กลไกของรัฐตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2541).
มานิตย์ จุมปา. 5 ปี รัฐธรรมนูญ กับประเด็นในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ รัฐสภาสาร ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2546) หน้า 37 - 50.
มานิตย์ จุมปา.   ข้อพิจารณาประเด็นในการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วารสารกฎหมาย ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2548) หน้า 161 - 176.
รัชนี อังตระกูล.   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ความเป็นมา กระบวนการตรารัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2549) หน้า 31 - 68.
รุจิเรข ชุ่มเกสรกูลกิจ. ประเด็นยกร่างรัฐธรรมนูญปี 2540: ข้อควรรู้ในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา). รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) หน้า 7 - 81. 
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. การใช้และการตีความกฎหมายมหาชน. วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 8 ฉบับที่ 2  (พฤษภาคม - สิงหาคม 2551) หน้า 43 - 82
วัชรา ไชยสาร.    “5 ปี” แห่งการบังคับใช้รัฐธรรมนูญกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร  ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2546) หน้า 51 - 94. 
วิรัตน์ เนยสูงเนิน. กระบวนการในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่. รัฐสภาสาร ปีที่ 44 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2539) หน้า 25 - 36.
วิษณุ เครืองาม. เขาร่างรัฐธรรมนูญกันอย่างไร. วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2550) หน้า 5 - 13.
ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล.   หลักและวิธีปฏิบัติในการบังคับใช้รัฐธรรมนูญในกรณีที่มีบทบัญญัติว่า “ทั้งนี้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ” วารสารกฎหมาย ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2547) หน้า 61 - 110.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. รัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง กฎหมายทั้งหลายสิ้นสุดลงตามด้วยหรือไม่. บทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net. เล่ม 6. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 245 - 249
สมคิด เลิศไพฑูรย์. กระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ . วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).
สมคิด เลิศไพฑูรย์. รัฐธรรมนูญในอุดมคติของปรีดี พนมยงค์. รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 48 ฉบับที่ 1 (2543) หน้า 1 - 25.  
สมคิด เลิศไพฑูรย์. ร่างรัฐธรรมนูญไทย : สิ่งใหม่ๆในร่างรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2540).
สมคิด เลิศไพฑูรย์. มาตรา 309 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 186-204.
สิทธกร ศักดิ์แสง. ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตีกฏหมาย : กรณีศึกษาคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 27/2544. รัฐสภาสาร
สิทธิกร ศักดิ์แสง. วิเคราะห์แนวคิดเปรียบเทียบปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 กับ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 12 (2553) หน้า 121-144.
สิทธิพงษ์ ศรีเลอจันทร์. การสอบสวนที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 (7). Veridian E-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2554) หน้า 394-467.
สุทธิมาตร จันทร์แดง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2554. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (2554) หน้า 91-110.
สมยศ เชื้อไทย. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกับการแก้ไข. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2532).
เสนีย์ คำสุข. ปัญหารัฐธรรมนูญไทย : สาเหตุและการหาทางออก. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 2 (2553) หน้า 35-76.
อมร จันทรสมบูรณ์ . โครงสร้างรัฐธรรมนูญในอนาคตของไทย. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 15 ตอน 3 (เมษายน 2539).
อมร จันทรสมบูรณ์ . ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย . www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 13 ธันวาคม 2547
อมร จันทรสมบูรณ์. New - paradigm กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับการปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2 (.. 2549 - 2550). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 27 กันยายน 2549.
อมร จันทรสมบูรณ์.  ความสำคัญของ “องค์การยกร่างรัฐธรรมนูญ” ในการปฏิรูปการเมือง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 12 ตุลาคม 2549.
อภิวัฒน์ สุดสาว. ปัญหาข้อกฎหมายของความหมายคำว่า "ต้องคำพิพากษาให้จำคุก" ตามบทบัญญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. จุลนิติ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (2556) หน้า 117-124.
อภิวัฒน์ สุดสาว. สภาพบังคับทางกฎหมายเกี่ยวกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 (2555) หน้า 125-133.
อภิวัฒน์ สุดสาว. สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ กับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 (2555) หน้า 119-128.
อภิวัฒน์ สุดสาว. หลักการตีความรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 (2553) หน้า 135-142.