รัฐธรรมนูญไทย / ทฤษฎี / บทความ
กมล สมวิเชียร. ทางอยู่รอดของประชาธิปไตย. วารสารกฎหมาย ปี่ที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2517).
กองยกร่างกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. กระบวนการนิติบัญญัติ.   วารสารกฎหมายปกครอง   เล่ม 20 ตอน 1, 2544
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. แนวความคิดว่าด้วยรัฐ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 6 พฤษภาคม 2545.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์.   แนวความคิดอำนาจอธิปไตยในประเทศไทย.   รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net กรุงเทพฯ:สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์.   รัฐธรรมนูญในแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม.   www.pub-law.net   เผยแพร่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2546 และ 3 มีนาคม 2546.
ขวัญชัย สันตสว่าง. ระบบคอรัปชั่นในประเทศไทย. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 5 (2529).
ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. การแบ่งแยกอำนาจกับการตีความรัฐธรรมนูญ. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 1 ตอน 2 (สิงหาคม 2525).
ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. อิสระของข่าวสาร (Freedom of Information). วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 (มีนาคม 2521).
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. กฎหมายกับการใช้อำนาจ: ข้อสังเกตบางประการ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2523).
เชาวนะ ไตรมาศ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพัฒนาการของรัฐธรรมนูญไทย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 12 กรกฎาคม 2547.
เชาวนะ ไตรมาศ. นโยบายชาติที่ปลอดความเป็นฝักฝ่ายกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 เล่มที่ 14 (พฤษภาคม - สิงหาคม, 2546)
เดือน บุนนาค. การแยกอำนาจ (La seperation des pouvoirs). วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2520).
ถาวร เกียรติทับทิว.   ระบบการแบ่งแยกอำนาจและระบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยตามแนวคิดของมองเตสกิเออ. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ   ปีที่ 4 เล่ม 11 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2545).
ธงทอง จันทรางศุ. การปรับปรุงระบบการทำงานของคณะกรรมาธิการของสภาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น. วารสารกฎหมาย ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2541).
ณัชชา คุณาทัพพ์. กฎบัตรอาเซียน: รัฐธรรมนูญนิยมในศตวรรษที่ 21. บทบัณฑิตย์ ปีที่ 67 ฉบับที่ 3 (2554) หน้า 1-24.
ณัชชา คุณาทัพพ์. ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในรัฐธรรมนูญไทย-เกาหลี วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (2554) หน้า 87-109.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณีกับเสถียรภาพทางการเมืองของไทย. รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (2534) หน้า 90 - 104.
นพดล เฮงเจริญ. การตีความรัฐธรรมนูญ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 16 ธันวาคม 2545.
นพนิธิ สุริยะ. ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน - สิงหาคม 2520).
นพนิธิ สุริยะ. สนธิสัญญาในรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2535).
นิพนธ์ โลหะกุลวิช.   ถอดความเสวนาทางวิชาการเกี่ยวกับข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ 913/2536. วารสารนิติศาสตร์   ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).  
บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. อำนาจการพิจารณาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ประกาศใช้ก่อนการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์   ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).  
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 (2555) หน้า 27-42.
ปราณพงษ์ ติลภัทร. ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กรณีมีปัญหาว่า กฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) .. 2549. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2550) หน้า 7 - 36.
ปานตา ช่างกล่อม. รูปร่างของพระราชบัญญัติ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2537).
ปิยพันธุ์ อุดมศิลป์. อำนาจอธิปไตยของรัฐและนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2536).
ปิยะบุตร แสงกนกกุล. พระราชอำนาจ การลงพระปรมาภิไธย และการสนองพระบรมราชโองการ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 3 มกราคม 2550.
พงศ์เพ็ญ ศกุนตาภัย. ทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย. วารสารกฎหมาย ฉบับอนุสรณ์ศาสตราจารย์หยุด แสงอุทัย.
ภชฤทธิ์ นิลสนิท. กฎหมายรัฐธรรมนูญไทยหลักทั่วไป (Thaiandisches verfassungsrecht: allgemeiner teil). ดุลพาห ปีที่ 59 ฉบับที่ 1 (2555) หน้า 147-156.
ภูริชญา วัฒนรุ่ง.   การเพิ่มอำนาจทางกฎหมายของฝ่ายบริหารภายใต้หลักนิติรัฐ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 503 - 514.  
โภคิน พลกุล. สังคมไทยไปไม่ถึงนิติรัฐ ?. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 124 - 131.
มานิตย์ จุมปา. หลักนิติรัฐกับการตราพระราชกำหนดความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 11 สิงหาคม 2546.
ยุทธพงศ์ ภูรีเสถียร. กฎหมายลำดับรอง. วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 20 ตอน 2, 2544.
รองพล เจริญพันธุ์. รูปแบบทางคณิตศาสตร์ เรื่องอำนาจอธิปไตยและสัญญาประชาคมของโทมัส ฮอบส์. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน - สิงหาคม 2520).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์.   หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 424 - 453.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ และจตุรนต์ ถิระวัฒน์. อำนาจอธิปไตยกับกฎหมายระหว่างประเทศ.   วารสารนิติศาสตร์   ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2529).  
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. การตรวจสอบความถูกต้องตามรัฐธรรมนูญของรัฐบัญญัติโดยองค์กรตุลาการ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (มีนาคม 2521).
วรลักษณ์ แก้วสงวน. แนวคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญสมัยใหม่. รัฐสภาสาร ที่ 54 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2549) หน้า 19 - 30.
วิชัย ตันติกุลานันท์. อำนาจศาลและอำนาจฝ่ายบริหาร. วารสารกฎหมาย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - พฤศจิกายน 2529).
วิชา มหาคุณ. อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ: ความมั่นคงของชาติและหลักนิติธรรม. วารสารกฎหมาย ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2521).
วิบูลย์ กัมมาระบุตร. จารีตประเพณีในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2532).
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.   แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (..2540) และรัฐธรรมนูญฉบับสำคัญ. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 4: ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน กรุงเทพฯ:สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548, หน้า 327 - 377.
วิษณุ เครืองาม.   บทวิเคราะห์ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญเรื่องร่างพระราชบัญญัติกฤษฎีกาที่ 1 ว่าด้วยราชประเพณีกรุงสยาม. วารสารกฎหมายปกครอง   เล่ม 14 ตอน 2 (สิงหาคม 2538).  
วิษณุ เครืองาม. พระราชฐานะของพระมหากษัตริย์ตามธรรมนูญการปกครอง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2520).
วิษณุ เครืองาม. องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).
วิษณุ วรัญญู.   ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการนำเอาทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจเป็นหลักในการจำแนกรูปแบบการปกครองชนิดต่างๆ. วารสารนิติศาสตร์   ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2532).  
สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธ์. แนวความคิดสั้นๆเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ รัฐธรรมนูญ และประชาชน. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2520).
สมคิด เลิศไพฑูรย์. รัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง กฎหมายทั้งหลายสิ้นสุดลงด้วยหรือไม่. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2549
สมภพ โหตระกิตย์. การควบคุมกฎหมายที่ขัดรัฐธรรมนูญ. วารสารนิติศาสตร์ เล่ม 2 ตอน 1 (มิถุนายน 2513).
สมยศ เชื้อไทย รัฐธรรมนูญกับประชาธิปไตย: ความหมายและความสัมพันธ์. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2526).
สมยศ เชื้อไทย และวรพจน์ วิศรุตพิชญ์. แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย.   วารสารนิติศาสตร์    ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2527).  
สมยศ เชื้อไทย. รัฐ: ปัญหาเกี่ยวกับข้อความคิด (Concept) และสาระสำคัญ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2528).
สมหมาย จันทร์เรือง. รัฐธรรมนูญไทยกับการศึกษา. วารสารไทย ปีที่ 32 ฉบับที่ 121 (มกราคม - มีนาคม 2556).
สโรช สันตะพันธุ์. ข้อพิจารณาในการทูลขอนายกรัฐมนตรีพระราชทาน. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 31 มีนาคม 2549
สหธน รัตนไพจิตร. ทฤษฎีการลงโทษ: การนิติบัญญัติ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กันยายน 2524).
สิทธิกร ศักดิ์แสง.    วิเคราะห์แนวคิดเปรียบเทียบปรัชญากฎหมายที่มีอิทธิพลต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 กับ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2553) หน้า 121 - 144.  
สุเทพ ลีรพงษ์กุล. พระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญฯ และรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 7. รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2549) หน้า 7 - 18.
สุธาบดี สัตตบุศย์. การโอนเป็นของชาติ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2525).
เสนีย์ คำสุข. ปัญหารัฐธรรมนูญไทย: สาเหตุและการหาทางออก. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2553).
สุรพล นิติไกรพจน์. ผลทางกฎหมายของบทเฉพาะกาล เมื่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).
โสภณ รัตนากร. ศาล เทศบาล และศาลจราจร. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กันยายน 2520).
อัมมาร สยามวารา. การแยกอำนาจบริหาร นิติบัญญัติ ออกจากกัน. วารสารกฎหมาย ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม 2541).
อุกฤษ มงคลนาวิน. รัฐธรรมนูญกับเศรษฐกิจของไทย. วารสารกฎหมาย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2517).