รัฐธรรมนูญไทย / ทฤษฎี / วิทยานิพนธ์
จามร โสมานันท์. การปรึกษาหารือและการรับฟังความคิดเห็นในกระบวนการนิติบัญญัติและการออกกฎ ข้อบังคับ   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
เจษฎา พรไชยา. พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายและธรรมเนียมปฏิบัติทางรัฐธรรมนูญ: ศึกษาเปรียบเทียบประเทศอังกฤษและประเทศไทย.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
ชายชาญ ชูวงศ์ พระราชอำนาจทางการคลังของพระมหากษัตริย์ก่อนพุทธศักราช 2543.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
ณวัฒน์ ศรีปัดถา. ความเป็นไปได้ในการนำหลักการในระบบอิมพีชเมนต์ของประเทศสหรัฐอเมริกามาปรับใช้กับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
ณภัทร์พร สิงห์ประเสริฐ พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการยับยั้งร่างกฎหมาย.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ธงทอง จันทรางศุ   พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529.
นิพนธ์ โลหะกุลวิช. หลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติริเริ่มกำหนดรายจ่ายแผ่นดิน.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538.
ปณิธาน วิสุทธากร. การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี: ศึกษาทางรัฐธรรมนูญไทย.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.
เพ็ญจันทร์ โชติบาล พระราชอำนาจในการอภัยโทษของพระมหากษัตริย์ไทย.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2533.
ภิรมย์ เจริญรุ่ง. ขอบเขตการใช้เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของสมาชิกรัฐสภา   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541.
มาริสา ไพทยะทัตย์. ปัญหากระบวนการนิติบัญญัติในรัฐธรรมนูญไทย   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.
วิชชุ วุฒานุรักษ์ บทบัญญัติรัฐธรรมนูญว่าด้วยสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
อรพรรณ ลีนะเปสนันท์.. แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในรัฐธรรมนูญไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
อัลจนา พึ่งเย็น. การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540.   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.